Caryedon serratus (Olivier)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Caryedon serratus (Olivier)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Caryedon gonagra, Pachymerus cassiae, Bruchus fuscus (Gagnepain and Rasplus, 1989)  
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  ด้วงขาโต
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  Tamarind seed beetle, groundnut seed beetle, groundnut beetle, groundnut borer, bruchid beetle

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Coleoptera
           Family  Bruchidae
              Genus  Caryedon
                Species  serratus

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ถั่วลิสง : Gruondnut , Peanut , Monkeynut (Arachis hypogaea L. )
มะขาม : tamarind (Tamarindus indica)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

คูน : CascaraGolden showerIndian laburnumPudding - pine tree (Cassia fistula)
กัลปพฤกษ์ กานล์ ชัยพฤกษ์ : Wishing Tree, Pink Shower (Cassia bakeriana Craib)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

เมล็ด

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบแพร่ระบาดในเขตร้อนและเขตอบอุ่น
 

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

Gagnepain and Rasplus (1989) รายงานว่าใน Ivory Coast พบแตนเบียนไข่ Uscana caryedoni Viggiani, แตนเบียนหนอน 4 ชนิด ได้แก่ Anisopteromalus caryedophagus Rasplus, Proconura serratocida Rasplus, Eurytoma caryedocida Rasplus และ Bracon sp.
 

วิธีการควบคุม (Control measure)

กำจัดผลิตผลที่พบแมลงเข้าทำลาย ป้องกันแหล่งแมลงทำลายในผลผลิตใหม่
หากพบการระบาดอาจใช้สารรมฟอสฟีนในอัตรา 2 tablets ต่อมะขามหวาน 1 ลูกบาศก์เมตร (กรรณิการ์ และดวงสมร, 2550)

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Conway, J.A. 1974. Investigation into the origin, development and control of Caryedon serratus (Col. Bruchidae) attacking stored groundnuts in the Gambia. pp. 554-566. In: Proceedings of the First International Conference on Stored-Product Entomology, Savannah, GA, USA.
[2] Gagnepain, C. and J.Y. Rasplus. 1989. Caryedon serratus and its parasitoids in the Savanna around Lamto, Ivory Coast. Entomophaga 34(4): 559-567.
[3] กรรณิการ์ เพ็งคุ้ม และดวงสมร สุทธิสุทธิ์. 2550. การใช้สารรมฟอสฟีนในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูมะขาม หวานหลังการเก็บเกี่ยว. รายงานผลงานวิจัยและพัฒนาด้านพืชและเทคโนโลยีการเกษตร. กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.
[4] ชุลีมาศ บุญไทย อิวาย มลนิภา ศรีมาตรภิรมย์ ภูมิศักดิ์ ศรีเมือง และนิลุบล ทวีกุล. 2546. ด้วงขาโต Caryedon serratus Olivier และการป้องกันกำจัด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 34(4-6, พิเศษ): 172-175.
[5] พรทิพย์ วิสารทานนท์ กุสุมา นวลวัฒน์ บุษรา จันทร์แก้วมณี ใจทิพย์ อุไรชื่น รังสิมา เก่งการพานิช กรรณิการ์ เพ็งคุ้ม และจิราภรณ์ ทองพันธ์ ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ ลักขณา ร่มเย็น และภาวินี หนูชนะภัย. 2548. แมลงที่พบในผลิตผลเกษตรและการป้องกันกำจัด. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. 150 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สาขาวิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication