ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Eudocima fullonia (Clerck)
ชื่อพ้อง (Synonym) Othreis fullonia, Ophideres fullonica, Othreis fullonica, Phalaena pomona, Noctua dioscoreae, Othreis pomona, Ophideres obliteraus, Phalaena (Attacus) fullonica, Phalaena (Noctua) phalonia, Ophideres fullonia
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ผีเสื้อมวนหวาน
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) fruit piercing moth
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Noctuidae
Genus Eudocima
Species fullonia
ตัวเต็มวัยเท่านั้นที่เข้าทำลายผลที่สุก ดูดกินน้ำหวานภายในผลทำให้ผลร่วง เน่าเสีย ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ส้มแมนดาริน : mandarin (Citrus reticulata)
ส้มโอ : shaddock (Citrus maxima)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
ฝรั่ง : guava (Psidium guajava)
มะนาว : lime (Citrus aurantifolia)
เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
ลำไย : longan (Dimocarpus longan)
ลิ้นจี่ : litchi (Litchi chinensis)
องุ่น : grape (Vitis vinifera)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
ลางสาด : langsat (Aglaia domestica)
ลองกอง : longkong (Aglaia dookkoo)
มังคุด : mangosteen (Garcinia mangostana)
พุทราจีน : jujube (Zizyphus jujuba)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ผล
พบในแหล่งปลูกไม้ผลทั่วไประบาดรุนแรงที่อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด
แตนเบียนไข่ (Trichogramma sp.,Telenomus sp.)
กำจัดวัชพืชและพืชอาหารในระยะหนอน เช่น ใบย่านาง ใบข้าวสารที่อยู่ในบริเวณแปลงปลูกเพื่อไม่ให้เป็นที่อาศัยและเป็นอาหารของหนอน
ใช้กับดักแสงไฟ black light ล่อตัวเต็มวัยในช่วง 20.00-22.00 น. ซึ่งเป็นช่วงที่ตัวเต็มวัยออกหากินมากที่สุด แล้วกำจัดตัวเต็มวัยเพื่อลดประชากรศัตรูพืชที่จะระบาดในฤดูต่อไป
[1] Banziger, H. 1982. Fruit-piercing moths (Lep., Noctuidae) in Thailand: a general survey and some new perspectives. Mitteilungen der Schweizerischen Entomologischen Gesellschaft 55 (3-4): 213-240.
[2] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[3] Insect Museum,Department of Agriculture, THAILAND
[4] Kuroko, H. and A. Lewvanich. 1993. Lepidopterous pests of tropical fruit trees in Thailand (with Thai Text). Japan International Cooperation Agency, Funny Publishing Limited Partnership, Bangkok. 190 p.
[5] Waterhouse, D.F. 1993. The major arthropod pests and weeds of agriculture in Southeast Asia. Canberra, Australia: ACIAR.
[6] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[7] จักรพงษ์ เจิมศิริ และ จุฑาณัฐ ปานนิ่ม. 2543. คู่มือนักวิชาการภาคสนาม แมลงศัตรูไม้ผล. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผล สมุนไพรและเครื่องเทศ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร. 85 หน้า.
[8] สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร. มปป. ผีเสื้อมวนหวาน (Fruit piercing moth). กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http//forecast.doae.go.th/web/tangerine/228-insect-pests-of-tangerine/1019-fruit-piercing-moth.html
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable