ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Adoretus compressus (Weber)
ชื่อพ้อง (Synonym) Lepadoretus compressus
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ด้วงกุหลาบ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) rose beetle
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Coleoptera
Family Rutelinae
Genus Adoretus
Species compressus
ตัวเต็มวัยชอบกัดกินใบแก่ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ ยอดอ่อน ดอก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
กุหลาบ : rose (Rosa spp.)
ปาล์มน้ำมันแอฟริกัน : African oil palm (Elaeis guineensis)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
มันสำปะหลัง : cassava (Manihot esculenta)
กาแฟ : coffee (Coffea sp.)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
องุ่น : grape (Vitis vinifera)
นุ่น : kapok (Ceiba pentandra)
ชมพู่ : rose apple (Eugenia sp.)
เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
ข้าวฟ่าง : sorghum (Sorghum bicolor)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ใบ, กาบใบ
พบระบาดในแปลงปลูกข้าวโพด กุหลาบ กาแฟ อ้อย และพืชไร่อื่นๆ พบระบาดในไร่ข้าวโพดที่ศูนย์วิจัยข้าวฟ่างแห่งชาติเมื่อปี 2518
และในจังหวัดเชียงใหม่ กาญจนบุรี เลย สระบุรี นครปฐม
Proreus simulans Stallen, Camsomeris marginella billitonensis Tull, Typhia sp.
ทำลายกองหญ้าหรือมูลสัตว์ ดักจับตัวเต็มวัยไปทำลาย ใช้สารเคมีกำจัดแมลงเมื่อมีการระบาด
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] ทวีศักดิ์ ชโยภาส. 2544. แมลงศัตรูปาล์มน้ำมันในประเทศไทย. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูพืชสวนอุตสาหกรรม กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 126 หน้า.
[3] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[4] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[5] อนันต์ สกุลกิม. 2540. เอกสารคำสอนรายวิชาแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจ. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 370 หน้า.
[6] อรนุช กองกาญจนะ และ วัชรา ชุณหวงศ์. 2540. แมลงศัตรูข้าวโพดและการป้องกันกำจัด. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวโพดและพืชไร่อื่นๆ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 37 หน้า.
[7] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.
[8] โกศล เจริญสม. 2525. แมลงอ้อย. ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 108 หน้า.
-
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable