Aulacophora frontalis (Baly)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Aulacophora frontalis (Baly)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Ceratia frontalis
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  ด้วงเต่าแตงดำ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  black cucubit beetle

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Coleoptera
           Family  Chrysomelidae
              Genus  Aulacophora
                Species  frontalis

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวเต็มวัยกัดกินใบตั้งแต่ระยะใบเลี้ยงจนต้นโต กัดกินใบและดอก โดยกัดใบให้เป็นวงก่อนจึงกินส่วนที่อยู่ในวงจนหมดเกิดเป็นรูตามใบ บางครั้งกัดกินบริเวณโคนต้นทำให้เป็นแผลรอยการกัดกิน ตัวหนอนกัดกินราก ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,ลำต้น,ดอก,ราก  

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

แตง, แตงกวา : cucumber (Cucumis sativus)
แตงโม : watermelon (Citrullus lanatus)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ,ดอก

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกพืชตระกูลแตงทั่วไป พบได้ทั่วประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

เชื้อราขาว Beauveria bassiana, ตัวห้ำ (Chlaenius pallipes,Cicindela aurulenta)

วิธีการควบคุม (Control measure)

ทำลายแหล่งอาศัยของด้วงเต่าแตงรวมทั้งถอนต้นและรากหลังเก็บเกี่ยวเพื่อทำลายแหล่งอาหารของตัวอ่อน ใช้สารเคมีกำจัดแมลง

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] คณะกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี. 2540. การระบาดของแมลงและสัตว์ศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 94 หน้า.
[3] จรัสศรี วงศ์กำแหง. 2548. การบริหารการจัดการแมลงถั่วลิสงที่สำคัญในแหล่งปลูกภาคใต้ ผลงานฉบับเต็ม ขอประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนักวิชาการเกษตร 8 ว. ศูนย์วิจัยพืชไร่สงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8. กรมวิชาการเกษตร.
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[6] มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มปป. การปลูกแตงกวา. URL http://web.ku.ac.th/agri/cucumber/tang5.htm
[7] ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสงขลา. มปป. ศัตรูพืชตระกูลแตง. URL http://www.pmc06.doae.go.th/melon%20plant/melon.htm

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication