ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Cylas formicarius (Fabricius)
ชื่อพ้อง (Synonym) Brentus formicarius Fabricius, 1798
Cylas elegantulus (Summers, 1875)
Cylas formicarius elegantulus Summers
Cylas formicarius
Cylas turcipennis Boheman
Otidocephalus elegantulus Summers, 1895
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ด้วงงวงมันเทศ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) sweet potato weevil, sweet potato root borer
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Coleoptera
Family Apionidae
Genus Cylas
Species Cylas formicarius
หนอนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายกัดกินหัวของพืช เข้าทำลายได้ทั้งในแปลงปลูกและในช่วงหลังเก็บเกี่ยว ตัวเต็มวัยจะกัดกินเถามันเทศ ตัวอ่อนอยู่ภายในหัวมันเทศชทำให้ะงักการเจริญเติบโต ลงหัวน้อยและมีกลิ่นเหม็น รสขม ตลอดทั้งยังเป็นช่องทางให้เชื้อจุลินทรีย์ในดินเข้าทำลายรอยแผลและทำให้หัวมันเทศเน่าได้ในที่สุด ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: เถา หัว
พืชอาศัยหลัก (Main host)
มันเทศ : sweet potato (Ipomoea batatas)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
เผือก : taro (Colocasia esculenta)
เถา / หัว
Asia: Bangladesh, British Indian Ocean Territory, Brunei Darussalam, Cambodia, China, Cocos Islands, India, Indonesia, Japan, Korea (Republic of), Laos, Lebanon, Malaysia, Maldives, Myanmar, Pakistan, Philippines, Singapore, Sri Lanka, Taiwan, Thailand, Turkey, Vietnam
Africa: Cameroon, Chad, Congo Democratic Republic, Ethiopia, Ghana, Kenya, Liberia, Libya, Madagascar, Mauritius, Mozambique, Reunion, Senegal, Seychelles, Somalia, South Africa (restricted distribution), Sudan, Swaziland, Tanzania, Uganda, Zimbabwe
North America: Mexico, USA (restricted distribution)
Central America and Caribbean: Anguilla, Antigua and Barbuda, Bahamas, Barbados, Belize, Cayman Islands, Cuba, Dominican Republic, Guadeloupe, Guatemala, Haiti, Jamaica, Netherlands Antilles, Puerto Rico, Dominica, Saint Kitts and Nevis (restricted distribution), Saint Lucia, Trinidad and Tobago, United States Virgin Islands
South America: Guyana, Venezuela
Oceania: American Samoa, Australia (restricted distribution), Cook Islands, Fiji, French Polynesia, Guam, Kiribati, Marshall Islands, Micronesia Federated states of, New Caledonia, New Zealand, Niue, Northern Mariana Islands, Palau, Papua New Guinea, Samoa, Solomon Islands, Tonga, Tuvalu, Vanuatu, Wallis and Futuna Islands
ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกมันเทศ พบระบาดทั่วของทุกภาคของประเทศไทย
ไส้เดือนฝอย (Steinernema carpocapsae, Heterorhabditis bacteriophora), มวนดอกไม้ (Blaptostethus ceylonicus Popp.)
-คัดเลือกปลูกมันเทศเฉพาะพันธุ์ที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้นเพื่อหลีกเลี่ยงการเข้าทำลายของด้วงงวงมันเทศ
-ไม่ควรปลูกมันเทศซ้ำที่เดิมหรือปลูกมันเทศติดต่อกันเป็นเวลานาหลายปี
-ปล่อยน้ำเข้าแปลงก่อนปลูกและหลังปลูกจะสามารถทำลายไข่ ตัวอ่อน และตัวแก่ของด้วงงวงมันเทศได้
-ใช้สารเคมีกำจัดแมลงเมื่อพบว่ามีการระบาด
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[3] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[4] วิภาภรณ์ วรรณธนาเลิศ. 2546. ความสัมพันธ์ของปริมาณนํ้ายาง ความลึกของการลงหัวในมันเทศ (Ipomoea batatas batatas Lamk.) สายพันธุ์ต่างๆ กับการเข้าทำลายของด้วงงวงมันเทศ (Cylas formicarius F.). วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 164 หน้า.
[5] ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร. มปป. เทคโนโลยีการผลิตมันเทศหลังนา. สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2. 10 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable