ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Parasa lepida (Cramer)
ชื่อพ้อง (Synonym) Latoia lepida, Limacodes graciosa, Neaera media, Noctua lepida, Nyssia latitascia, Parasa lepida lepidula
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนหอยมะพร้าว หนอนเขียวหวาน
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) nettle caterpillar
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Limacodidae
Genus Parasa
Species lepida
ชอบวางไข่บริเวณใต้ใบ หนอนที่ฟักจากไข่ยังไม่กินใบพืช หนอนเริ่มกินใบพืชในระยะที่ 2 เป็นต้นไป กัดกินใบจนเหลือแต่ก้านใบ ส่วนใหญ่พบทำลายใบแก่ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ปาล์มน้ำมันแอฟริกัน : African oil palm (Elaeis guineensis)
มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
ระกำ, เจาะละก่า : Rakum Palm, Salacca (Salacca wallichiana)
เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
ชมพู่น้ำดอกไม้ : Rose Apple (Syzygium jambos)
ขนุน : jackfruit (Artocarpus heterophyllus)
ลำไย : Longan (Domocarpus longan)
กุหลาบ : rose (Rosa sp.)
ทับทิม : pomegranate (Punica granatum)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ใบ
แหล่งปลูกมะพร้าวทั่วไป โดยเฉพาะในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี
มวนตัวห้ำ (Eocanthecona furcellata), Apanteles parasae Rohwer, Euderastichus sp., ต่อกาเหว่า (Chrysis shanghaiensis Smith, Chaetexorista javana Brauer & Bergenstamm, Sarcophaga antilope Bottcher
หมั่นตรวจสอบหนอนในช่วงที่มีการระบาด ถ้ามีเล็กน้อยให้ตัดใบที่มีหนอนทำลายเสีย ใช้ศัตรูธรรมชาติ ใช้สารเคมี
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[3] ทวีศักดิ์ ชโยภาส. 2544. แมลงศัตรูปาล์มน้ำมันในประเทศไทย. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูพืชสวนอุตสาหกรรม กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 126 หน้า.
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] อัมพร คมสัน. 2532. ชีววิทยาและการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูมะพร้าวที่สำคัญในประเทศไทย. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูพืชสวนอุตสาหกรรม กองกีฎและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 117 หน้า.
[6] อุดร อุณหวุฒิ, ศิริณี พูนไชยศรี, ชลิดา อุณหวุฒิ, ลักขณา บำรุงศรี, ชมพูนุท จรรยาเพศ, มานิตา คงชื่นสิน, เทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ยุวรินทร์ บุญทบ, พลอยชมพู กรวิภาสเรือง, ปราสาททอง พรหมเกิด, ปิยาณี หนูกาฬ, ดาราพร รินทะรักษ์, ณัฐวัฒน์ แย้มยิ้ม และ สิทธิศิโรดม แก้วสวัสดิ์. 2550. ศึกษาชนิดของแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืชของพืชนำเข้า. โครงการวิจัย วิจัยการกักกันพืช. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักพืช. 13 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable