ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Chilo suppressalis (Walker, 1863)
ชื่อพ้อง (Synonym) Chilo oryzae Fletcher, 1926-27
Chilo simplex Butler, 1877
Chilo simplex Hudson, 1895
Crambus suppressalis Walker, 1863
Jartheza simplex Butler, 1880
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนกอแถบลาย
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) Asiatic rice borer, pale-headed striped borer, purple-lined borer, rice borer (Asia), rice chilo, rice stalk borer, rice stem borer, striped rice stalk borer, striped rice stalkborer, striped rice stem borer, sugarcane moth borer, striped rice stem borer
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Crambidae
Genus Chilo
Species Chilo suppressalis
ระยะหนอนเข้าทำลายทุกระยะการเจริญเติบโต เจาะเข้าทำลายกาบใบ ทำให้กาบใบมีสีเหลืองหรือน้ำตาล เมื่อหนอนโตขึ้นจะเข้ากัดกินส่วนของลำต้น ทำให้เกิดอาการใบเหี่ยวในระยะแรก ใบและยอดที่ถูกทำลายจะเหลืองในระยะต่อมา ซึ่งการทำลายในระยะข้าวแตกกอนี้ทำให้เกิดอาการยอดเหี่ยว ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ยอด,ใบ,ลำต้น,ดอก,ฝัก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ข้าว : rice (Oryza sativa)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
พืชวงศ์ POACEAE, วงศ์ไม้ไผ่และหญ้า : Poaceae (Poaceae)
ข้าวฟ่าง : sorghum (Sorghum bicolor)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ยอด / ใบ / ลำต้น / ดอก / ฝัก
Asia: Bangladesh, Brunei Darussalam, Cambodia, China, India, Indonesia, Iran, Iraq, Japan, Korea (DPR), Korea (Republic of), Laos, Malaysia, Myanmar, Nepal, Pakistan, Philippines, Sri Lanka, Taiwan, Thailand, Vietnam
North America: USA (restricted distribution)
Europe: France (restricted distribution), Hungary, Portugal , Russian Federation (restricted distribution), Spain (restricted distribution)
Oceania: Australia, Papua New Guinea (restricted distribution)
ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกข้าวและข้าวโพด พบแพร่กระจายทั่วไป โดยเฉพาะในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ด้วงเต่า (Coccinella transversalis Fabricius), แมงมุมตาหกเหลี่ยม (Oxyopes javanus), ด้วงก้นกระดก, แมลงปอบ้าน, แตนเบียน (Temelucha stangi Ashmead)
-เผาตอซังหลังการเก็บเกี่ยว ไขน้ำท่วมและไถดินเพื่อทำลายหนอนและดักแด้ของหนอนกอข้าวที่อยู่ตามตอซัง
-ปลูกพืชอื่นเพื่อตัดวงจรชีวิตของหนอนกอข้าว
-ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป ทำให้ใบข้าวงามหนอนกอชอบวางไข่
-ใช้แสงไฟล่อตัวเต็มวัยและทำลาย ไม่ใช้สารฆ่าแมลงชนิดเม็ดในนาข้าวเพื่อช่วยให้ศัตรูธรรมชาติพวกแตนเบียนไข่และแตนเบียนหนอนของหนอนกอข้าวสามารถควบคุมประชากรหนอนกอข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[3] Insect Museum,Department of Agriculture, THAILAND
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[6] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.
[7] สุธรรม อารีกุล. 2529. แมลงศัตรูข้าวโพดของประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 241 หน้า.
[8] อรนุช กองกาญจนะ และ วัชรา ชุณหวงศ์. 2540. แมลงศัตรูข้าวโพดและการป้องกันกำจัด. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวโพดและพืชไร่อื่นๆ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 37 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable