ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Allocaridara malayensis (Crawford)
ชื่อพ้อง (Synonym) Tenaphalara malayensis
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) durian psyllid
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Hemiptera
Family Psyllidae
Genus Allocarridara
Species malayensis
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ตัวอ่อนสร้างไขสีขาวติดอยู่ที่ใบ ดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนทำให้ใบเป็นจุดเหลือง หากระบาดรุนแรงใบจะหงิกงอ แห้งและร่วงหล่น ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ทุเรียน : durian (Durio zibethinus)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ใบ
พบระบาดในช่วงที่ทุเรียนแตกใบอ่อนเท่านั้น พบได้ทั่วประเทศ
ด้วงเต่าลาย (Menochilus sexmaculatus (Fabricius), Micraspis discolor (Fabricius), Coccinella transversalis Fabricius), แมลงช้างปีกใส (Chrysopa sp., Ankylopteryx octopuctata, Hemerobius sp.), แตนเบียนตัวอ่อนเพลี้ยไก่แจ้ในวงศ์ Encyrtidae
บังคับให้ทุเรียนแตกใบอ่อนพร้อมกันโดยการให้น้ำเพื่อลดการทำลายของเพลี้ยไก่แจ้ ใช้สารเคมีกำจัดแมลงเมื่อมีการระบาด
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] จักรพงษ์ เจิมศิริ และ จุฑาณัฐ ปานนิ่ม. 2543. คู่มือนักวิชาการภาคสนาม แมลงศัตรูไม้ผล. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผล สมุนไพรและเครื่องเทศ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร. 85 หน้า.
[3] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[4] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[5] อนันต์ สกุลกิม. 2540. เอกสารคำสอนรายวิชาแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจ. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 370 หน้า.
-
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable