Callitetrix versicolor Fabricius

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Callitetrix versicolor Fabricius
ชื่อพ้อง (Synonym)  Rhinertria versicolor
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  เพลี้ยกระโดดดำ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  sugarcane spittlebug

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Hemiptera
           Family  Cercopidae
              Genus  Callitetrix
                Species  versicolor

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนดูดกินน้ำเลี้ยงจากรากวัชพืช ตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ้อย มีลักษณะเป็นจุดเหลืองซีดหรือสีน้ำตาลอ่อนกระจายอยู่ทั่วไป เมื่อถูกดูดดินมากๆใบอ้อยจะแห้งจากขอบใบเข้าหาเส้นกลางใบซึ่งมีผลทำให้อ้อยชะงักการเจริญเติบโตหรือผลผลิตอ้อยลดลง ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแปลงปลูกอ้อยและข้าวโพดพบระบาดเข้าทำลายอ้อยในอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แมงมุมและมวนเพชฌฆาต (Sycanus collaris Fabricius), Leptus sp., Entomophthora sp.)

วิธีการควบคุม (Control measure)

ทำลายวัชพืชที่เป็นพืชอาศัยและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลง คือ หญ้ากำมะหยี่ ใช้สารเคมีกำจัดแมลงเมื่อมีการระบาด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[2] ณัฐกฤติ พิทักษ์. 2547. แมลงศัตรูอ้อยและการป้องกันกำจัด, หน้า 57-117. ใน เฉลิมพล ไหลรุ่เรือง อุดม เลียบวัน อรรถสิทธิ์ บุญธรรม ประพันธ์ ประเสริฐศักดิ์ วันทนีย์ อู่วานิชย์ ณัฐกฤติ พิทักษ์ วัลลิภา สุชาโต สมศักดิ์ ทองศรี และตุลย์ อินทรัมพรรย์, ผู้รวบรวม. เอกสารวิชาการอ้อย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] สถาบันวิจัยพืชไร่. 2544. การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 104 หน้า.
[5] สุธรรม อารีกุล. 2529. แมลงศัตรูข้าวโพดของประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 241 หน้า.
[6] โกศล เจริญสม. 2525. แมลงอ้อย. ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 108 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication