Setora nitens (Walker)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Setora nitens (Walker)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Miresa nitens
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนอนร่านเซ็ทโทร่า
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  coconut nettle caterpillar

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Lepidoptera
           Family  Limacodidae
              Genus  Setora,Miresa
                Species  nitens

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

หนอนจะทิ้งตัวเข้าดักแด้ตามรอยแยกบนดินตรงโคนต้น กัดกินบริเวณใต้ใบทำให้ใบเหลือง บางครั้งเหลือแต่ก้านใบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
ปาล์มน้ำมันแอฟริกัน : African oil palm (Elaeis guineensis)
กาแฟ : coffee plant (Coffea spp.)
โกโก้ : cocoa (Theobroma cacao)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
ละหุ่ง : castor bean (Ricinus communis)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบมากในแหล่งปลูกมะพร้าวและปาล์มน้ำมันในแถบภาคใต้ เช่น จังหวัดชุมพร

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แบคทีเรีย (Bacillus thuringiensis), มวนตัวห้ำ (Eocanthecona furcellata), Platybracon sp., Euplectrus sp., Microgaster sp., Brachymeria sp., Chaetexorista javana, มวนเพชรฆาต (Sycanus collaris)

วิธีการควบคุม (Control measure)

ใช้ศัตรูธรรมชาติควบคุม ใช้สารเคมีกำจัดแมลงหากพบว่ามีการระบาด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] วิวัฒน์ เสือสะอาด, โกศล เจริญสม และ อรพรรณ เกินอาษา. 2545. การใช้มวนตัวห้ำ Eocanthecona furcellata (Wolff) (Hemiptera: Pentatomidae) เพื่อเป็นการควบคุมแมลงศัตรูละหุ่งโดยชีววิธีในสภาพไร่, หน้า 82-90. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การควบคุมโรคพืชและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. วันที่ 18-19 กันยายน 2545. ภาควิชาโรคพืชและคลินิกสุขภาพพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
[3] อัมพร คมสัน. 2532. ชีววิทยาและการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูมะพร้าวที่สำคัญในประเทศไทย. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูพืชสวนอุตสาหกรรม กองกีฎและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 117 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication