Aspidiotus destructor  (Signoret)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Aspidiotus destructor  (Signoret)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Aspidiotus transparens, Aspidiotus simillimus translucens, Temnaspidiotus destructor, Aspidiotus cocotis, Aspidiotus lataniae, Aspidiotus translucens, Aspidiotus vastatrix, Aspidiotus watanabei
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  เพลี้ยหอยเกล็ดมะพร้าว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  coconut scale

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Hemiptera
           Family  Diaspididae
              Genus  Aspidiotus
                Species  destructor

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนจะเดินออกจากฝาครอบของตัวแม่แยกย้ายไปเกาะกินที่อื่นและจะดูดกินที่เดียวตลอดอายุจนเป็นตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบทำให้ใบแห้งเหลือง แคระแกร็นและตายในที่สุด และยังดูดกินน้ำเลี้ยงจากช่อดอกและผลอ่อนด้วย ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล,ใบ,ช่อดอก,ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
ปาล์มน้ำมันแอฟริกัน : African oil palm (Elaeis guineensis)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
มะละกอ : papaya/pawpaw (Carica papaya)
สับปะรด : pineapple (Ananas comosus)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
ส้ม, ส้มเช้ง, ส้มตรา หมากหวาน : sweet orangenavel orange (Citrus sinensis)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ผล,ใบ,ช่อดอก

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกมะพร้าวทั่วประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แตนเบียน (Aphelinus mali (Haldeman), Aphelinus melinus DeBach, Aphytis sp., Coccophagus ceroplastae (Howard), Metaphycus sp., Comperiella sp.),ด้วงเต่า (Chilocorus circumdatus Gylenhal, C. nigritus)

วิธีการควบคุม (Control measure)

มีศัตรูธรรมชาติควบคุมอยู่แล้วในธรรมชาติ กำจัดใบที่โดนทำลายทิ้งเสีย ใช้สารเคมีกำจัดแมลงเมื่อมีการระบาด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[3] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[4] ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์, ประดิษฐ์ ปัญญาชาติรักษ์ และ โกศล เจริญสม. มปป. การควบคุมศัตรูส้มโดยชีววิธี. URL http://web.ku.ac.th/nk40/prapat.htm
[5] พิมลพร นันทะ, จุฑารัตน์ อรรถจารุสิทธิ์, สถิต ปฐมรัตน์, รัตนา นชะพงษ์ และ รุจ มรกต. 2534. รายชื่อแมลงศัตรูธรรมชาติของพืชเศรษฐกิจบางชนิดในประเทศไทย, หน้า 88-117. ใน เอกสารวิชาการ เรื่องการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. กลุ่มงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร.
[6] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[7] อัมพร คมสัน. 2532. ชีววิทยาและการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูมะพร้าวที่สำคัญในประเทศไทย. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูพืชสวนอุตสาหกรรม กองกีฎและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 117 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication