Cosmopolites sordidus (Germar)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Cosmopolites sordidus (Germar)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Calandra sordida, Cosmopolites striatus, Metamasius sordidus, Metamasius striatus, Sphenophorus cribricollis, Sphenophorus liratus, Sphenophorus musaecola, Sphenophorus pygidialis, Sphenophorus sordidus, Sphenophorus striatus
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  ด้วงงวงเจาะเหง้ากล้วย
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  banana root borer

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Coleoptera
           Family  Curculionidae
              Genus  Cosmopolites
                Species  sordidus

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ระยะตัวหนอนอยู่ในเหง้ากล้วยและกัดกินและเข้าดักแด้ในนั้น เข้าทำลายพืชได้ทุกระยะ ด้วงงวงในวงศ์นี้เป็นศัตรูสำคัญของกล้วย และพืชตระกูลปาล์ม เช่น Rhynchophorus ferrugineus ลักษณะการทำลายจะเริ่มจากตัวเต็มวัยวางไข่ที่บริเวณลำต้นของพืช และตัวอ่อนจะเจาะเข้าไปอาศัยและกัดกินภายในส่วนกลางของลำต้น ทำให้ต้นปาล์มยืนต้นตาย นับว่าด้วงงวงในวงศ์ย่อยนี้เป็นศัตรูสำคัญของพืชตระกูลปาล์ม ตัวหนอนจะเจาะกินเหง้ากล้วยทำให้แคระแกร็น ใบเหลือง เหี่ยวแห้งตาย ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ราก,ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ราก,ลำต้น

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกกล้วยจังหวัดนนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี นครปฐม กำแพงเพชร สุโขทัย ปราจีนบุรี และนครนายก

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

Plaesius javanus Erickson, Ceromasia sphenophori Vill.

วิธีการควบคุม (Control measure)

เก็บเหง้าที่มีแมลงเจาะมาเผาทำลาย รักษาแปลงปลูกให้สะอาด ใช้สารเคมีกำจัดแมลง

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] White, R. E. 1983. Beetles. A Field Guide to the Beetles. Houghton Mifflin Company. Boston, New York. 366 pp.
[3] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication