ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Amrasca splendens Ghauri
ชื่อพ้อง (Synonym)
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) เพลี้ยจักจั่นฝอยมะม่วง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) mango hopper
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Hemiptera
Family Cicadellidae
Genus Amrasca
Species splendens
ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเกาะใต้ใบดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ใบทำให้ขอบใบหงิกงอ ขอบใบแห้งกรอบเป็นรอยไหม้ ไม่สามารถผลิตช่อดอกได้ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,ช่อดอก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
ละหุ่ง : castor bean (Ricinus communis)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ใบ,ช่อดอก
พบในแปลงปลูกมะม่วง จังหวัดฉะเชิงเทรา และใแปลงปลูกละหุ่ง
Ankylopteryx octopunctata F., Chrysopa basalis Walker, Geocoris sp.
หมั่นสำรวจในระยะที่ใบอ่อน ถ้าพบเพลี้ยจักจั่นฝอยปริมาณน้อยให้ตัดส่วนที่ถูกทำลายไปเผาทิ้ง ใช้สารเคมีกำจัดแมลง
[1] กรมวิชาการเกษตร. มปป. มะม่วง (Mango). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http://203.172.198.146/rice/rice.mix2/body-5.html
[2] ทรงกลด ซื่อสัตตบงกช. มปป. เพลี้ยจักจั่นฝอย. กลุ่มงานศัตรูพืช กองป้องกันและกำจัดศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http://forecast.doae.go.th/web/mango/218-insect-pests-of-mango/928-leafhopper.html
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] อนันต์ สกุลกิม. 2540. เอกสารคำสอนรายวิชาแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจ. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 370 หน้า.
[5] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.
-
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable