ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Bemisia tabaci (Gennadius)
ชื่อพ้อง (Synonym) Aleurodes inconspicua, Aleurodes tabaci, Bemisia achyranthes, Bemisia bahiana, Bemisia costa-limai, Bemisia emiliae, Bemisia goldingi, Bemisia gossypiperda, Bemisia gossypiperda mosaicivectura, Bemisia hibisci, Bemisia inconspicua, Bemisia longispina, Bemisia lonicerae, Bemisia manihotis, Bemisia minima, Bemisia minuscula,
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Homoptera
Family Aleyrodidae
Genus Bemisia
Species tabaci
ดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบ ทำให้ใบหงิกงอและเหี่ยวแห้ง ต้นแคระแกรน เป็นพาหะนำเชื้อไวรัสของพืชหลายชนิด
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ยาสูบ : tobacco (Nicotiana tabacum)
พริก, พริกหวาน, พริกชี้ฟ้า : chili, pepper, bell pepper, goat pepper (Capsicum annuum)
มะเขือเทศ : Tomato (Solanum lycopersicum)
กระเจี๊ยบเขียว : okra (Abelmoschus esculentus)
มะเขือเปราะ : aubergine (Solanum xanthocarpum)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
มันเทศ : sweet potato (Ipomoea batatas)
กะเพรา : Sacred Basil, holy Basil (Ocimum sanctum)
โหระพา : sweet basil (Ocimum americanum)
แมงลัก : hairy basil (Ocimum basilicum L.f. var. citratum)
ผักชี : coriander (Coriandrum sativum)
ปอแก้วไทย : (Hibiscus sabdariffa var. altissima)
ฝ้าย : cotton (Gossypium sp.)
ทานตะวัน : common sunflower (Helianthus annuus)
ใบ
1. ในประเทศไทย พบระบาดทั่วไปในแหล่งปลูกมะเขือเทศ และแหล่งปลูกพืชอาศัย 2. ในต่างประเทศ แมลงหวี่ขาวยาสูบมีการแพร่กระจายกว้างขวางทั่วโลก มีรายงานพบในประเทศต่างๆ ใน Asia, Africa, North America, Central America and Caribbean, South America, Europe และ Oceania
พบในประเทศ 1. ตัวห้ำ ได้แก่ แมลงช้างปีกใส (Chrysopa basalis, Chrysopa sp.), ด้วงเต่าตัวห้ำ (Family Coccinellidae), แมงมุม (Lycoza sp., Oxyopes sp.) 2. ตัวเบียน ได้แก่ แตนเบียน Encarsia sp.
-ใช้สารป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบคลุกเมล็ดก่อนเพาะกล้า จะป้องกันแมลงเข้าทำลายได้ 15-20 วัน
-ถ้าตรวจพบตัวเต็มวัยแมลงหวี่ขาวยาสูบ มากกว่า 5 ตัวต่อใบ ให้พ่นสารสำหรับป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบในอัตราที่แนะนำตามฉลาก พ่นให้ทั่วทั้งต้นพืช ควรพ่นติดต่อกัน 2-3 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน
[1] Crop Protection Compendium. 2014. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] กลุ่มกีฏและสัตววิทยา. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตวศัตรูพืช ปี 2553. เอกสารวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 303 หน้า.
[3] กลุ่มงานแมลงศัตรูผัก ไม้ดอกและไม้ประดับ. 2542. แมลงศัตรูผัก INSECT PESTS OF VEGETABLES. เอกสารวิชาการ กองก๊ฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพฯ. 97 หน้า.
[4] กลุ่มบริหารศัตรูพืช. 2557. คู่มือการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชสำหรับการผลิตผัก เพื่อการส่งออกกลุ่มสหภาพยุโรป (ฉบับปรับปรุง). สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพฯ. 53 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[6] สมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย. 2547. คำแนะนำ การป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืช. กลุ่มวิจัยกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
พิพิธภัณฑ์แมลง กลุ่มงานอนุกรมวิธานแมลง สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable