Nilaparvata lugens (Stål)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Nilaparvata lugens (Stål)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Calligypona oryzae, Delphacodes anderida, Delphacodes oryzae, Delphacodes parysatis, Delphax lugens, Delphax ordovix, Delphax oryzae, Delphax parysatis, Delphax sordescens, Dicranotropis anderida, Hikona formosama, Hikora formosana, Kalpa aculeata, Liburnia oryzae, Liburnia sordescens, Nilaparvata greeni, Nilaparvata oryzae, Nilaparvata sordescens
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  brown planthopper

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Hemiptera
           Family  Delphacidae
              Genus  Nilaparvata
                Species  lugens

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบ พบในระยะต้นกล้าดูดน้ำเลี้ยงจากต้น ทำให้ต้นแห้งตาย ถ้าอยู่ในระยะออกรวงจะทำให้รวงลีบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าว : rice (Oryza sativa)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ

การแพร่กระจาย (Distribution)

แพร่ระบาดอย่างรุนแรงในแปลงปลูกข้าว เริ่มมีการระบาดในช่วง พ.ศ. 2518-2527 ใน พ.ศ. 2523-2524 มีการระบาดในเขตภาคกลาง ภาคตะวันตกและตะวันออก รวม 13 จังหวัด 72 อำเภอ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

มวนเขียวดูดไข่ (Cyrtorhinus lividipennis Reuter), ราขาวบิวเวอร์เรีย (Beauveria bassiana), ราเขียวเมตาไรเซี่ยม (Metarhizium anisopliae), แมงมุมสุนัขป่า (Lycosa psuedoannulata Bosenberg & Strand)

วิธีการควบคุม (Control measure)

ใช้พืชต้านทาน ใช้วิธีเขตกรรม ควบคุมด้วยชีววิธี ใช้สารเคมี

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[3] ปรีชา วังศิลาบัตร. 2545. นิเวศวิทยาของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและการควบคุมปริมาณ. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวและธัญพืชเมืองหนาว. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 117 หน้า.
[4] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[5] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.
[6] อนันต์ สกุลกิม. 2540. เอกสารคำสอนรายวิชาแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจ. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 370 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication