ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Hieroglyphus banian (Fabricius)
ชื่อพ้อง (Synonym) Hieroglyphus furcifer, Gryllus banian
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ตั๊กแตนข้าว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) rice grasshopper
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Orthoptera
Family Acrididae
Genus Hieroglyphus
Species banian
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยกัดกินใบพืชเหลือแต่เส้นกลางใบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล,ใบ,ลำต้น
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ข้าว : rice (Oryza sativa)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
ฝ้าย : cotton (Gossypium hirsutum)
ละหุ่ง : castor bean (Ricinus communis)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
สับปะรด : pineapple (Ananas comosus)
มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
มันสำปะหลัง : cassava (Manihot esculenta)
ถั่วเหลือง : soyabean (Glycine max)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
ข้าวฟ่าง : sorghum (Sorghum bicolor)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ผล,ใบ,ลำต้น
พบระบาดในแปลงปลูกข้าว อ้อย สับปะรด พบระบาดทั่วประเทศ
Scelio sp., Macroteleia nr. Indica (Sharma), Elasmus hyblaeae Ferriere, Entomophthora grylli, Fresenius, Hexamermis sp., Argiope catenulata (Doleschall), Rana sp.,Ploceus spp.
ใช้วิธีกล ใช้สารเคมีกำจัดแมลง ไถดินทำลายไข่ภายหลังตัวเต็มวัยวางไข่ในเดือนตุลาคมจนถึงเดือนมีนาคม เมษายน
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[3] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[6] สถาบันวิจัยพืชไร่. 2544. การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 104 หน้า.
[7] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.
[8] โกศล เจริญสม. 2525. แมลงอ้อย. ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 108 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable