ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Chilo polychrysus (Meyrick)
ชื่อพ้อง (Synonym) Proceras polychrysus, Proceras polychrysa, Diatraea polychrysa, Chilotraea polychrysa, Argyria polychrysa, Chilo polychrysa
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนกอหัวดำ หนอนกอแถบลายสีม่วง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) dark-headed striped borer
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Crambidae
Genus Chilo
Species polychrysus
ระยะหนอนเข้าทำลายทุกระยะการเจริญเติบโตเจาะเข้าทำลายกาบใบ ทำให้กาบใบมีสีเหลืองหรือน้ำตาล เมื่อหนอนโตขึ้นจะเข้ากัดกินส่วนของลำต้น ทำให้เกิดอาการใบเหี่ยวในระยะแรก ใบและยอดที่ถูกทำลายจะเหลืองในระยะต่อมา ซึ่งการทำลายในระยะข้าวแตกกอนี้ทำให้เกิดอาการยอดเหี่ยว ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ยอด,ใบ,ลำต้น,ดอก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ข้าว : rice (Oryza sativa)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ยอด,ใบ,ลำต้น,ดอก
พบในแหล่งปลูกข้าวและอ้อย พบระบาดทั่วทุกภาคของประเทศ
ด้วงเต่า (Coccinella transversalis Fabricius), แมงมุมตาหกเหลี่ยม (Oxyopes javanus), ด้วงก้นกระดก,แมลงปอบ้าน,แตนเบียน (Temelucha stangi Ashmead)
เผาตอซังหลังการเก็บเกี่ยว ไขน้ำท่วมและไถดินเพื่อทำลายหนอนและดักแด้ของหนอนกอข้าวที่อยู่ตามตอซัง ปลูกพืชอื่นเพื่อตัดวงจรชีวิตของหนอนกอข้าว ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป ทำให้ใบข้าวงามหนอนกอชอบวางไข่ ใช้แสงไฟล่อตัวเต็มวัยและทำลาย ไม่ใช้สารฆ่าแมลงชนิดเม็ดในนาข้าวเพื่อช่วยให้ศัตรูธรรมชาติพวกแตนเบียนไข่และแตนเบียนหนอนของหนอนกอข้าวสามารถควบคุมประชากรหนอนกอข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[3] Insect Museum,Department of Agriculture, THAILAND
[4] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[5] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[6] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[7] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.
[8] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable