Dysdercus cingulatus (Fabricius)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Dysdercus cingulatus (Fabricius)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Dysdercus megalopygus, Cimex cingulatus, Lygaeus cingulatus, Astemma koeningii, Pyrrhocoris koeningii
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  มวนแดงฝ้าย
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  red cotton bug

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Hemiptera
           Family  Pyrrhocoridae
              Genus  Dysdercus
                Species  cingulatus

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนดูดกินน้ำเลี้ยงจากทุกส่วนของพืช ตัวอ่อนระยะที่ 4-5 ดูดกินน้ำเลี้ยงจากสมอ วางไข่ไว้ตามผิวดินหรือเศษขยะ ดูดกินน้ำเลี้ยงจากตา ยอด ใบอ่อน สมอ เมล็ด ทำให้ต้นแคระแกร็น สมอร่วง แคระแกร็นหรือแตกก่อนกำหนด ทำให้เส้นใยสกปรกและคุณภาพเส้นใยไม่ดี ทำให้เมล็ดฝ้ายเสื่อมคุณภาพในด้านความงอกหรือถ้านำไปสกัดน้ำมันก็จะสูญเสียทั้งปริมาณและคุณภาพน้ำมัน ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: เมล็ด,ฝัก,ยอดอ่อน,สมอ,ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ฝ้าย : cotton (Gossypium hirsutum)
กระเจี๊ยบเขียว : okra (Abelmoschus esculentus)
นุ่น : kapok (Ceiba pentandra)
กะหล่ำปลี, กะหล่ำใบ : Cabbage, Common Cabbage, White Cabbage, Red Cabbage (Brassica olearace var. Capitata)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

สมอ,ฝัก

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกฝ้าย พืชผักทั่วไป พบได้ทั่วประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

Anthelocus coqueberti Fabricius, Anthelocus discifer Stal, Rhinocoris costalis Stal, Serinetha abdominalis Fabricius

วิธีการควบคุม (Control measure)

รักษาความสะอาดแปลงปลูกอย่าให้มีวัชพืชเป็นแหล่งเพาะพันธุ์

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[3] Lewis, W., M. Khan and T. Farrell. 2008. Pale cotton stainers, Dysdercus sidae. Cotton Catchment Communities CRC.
[4] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication