Aonidiella aurantii  (Maskell)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Aonidiella aurantii  (Maskell)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Aonidia aurantii, Aonidiella citri, Aonidiella gennadi, Aspidiotus aurantii, Aspidiotus citri, Aspidiotus coccineus, Chrysomphalus aurantii, Chrysomphalus citri
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  เพลี้ยหอยเกล็ดแดงแคลิฟอร์เนีย
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  California red scale

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Hemiptera
           Family  Diaspididae
              Genus  Aonidiella
                Species  aurantii

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเกาะอยู่บนส่วนของพืช ดูดกินน้ำเลี้ยงบนเนื้อเยื้อผล ใบ กิ่ง ก้าน ลำต้น ตัวเต็มวัยทำลายพืชดูดกินน้ำเลี้ยงบนใบ กิ่ง ก้าน ลำต้น และผลทำให้ผลที่ยังไม่แก่แคระแกร็นและร่วง ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล,กิ่ง,ก้าน,ใบ,ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ส้มแมนดาริน : mandarin (Citrus reticulata)
ส้มโอ : shaddock (Citrus maxima)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
เสาวรส, สุคนธรส : golden bellapple (Passiflora laurifolia)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ผล

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกส้ม มะม่วง เสาวรส พบระบาดทั่วๆไปในแปลงส้มในเขตภาคเหนือ ปัจจุบันพบในมะม่วงที่ปลูกในกรุงเทพมหานคร

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แตนเบียน (Comperiella bifasciata,Aphytis sp., Comperilla unifasciatus Ishii, Adelencyrtus bifasciatus Ishii, Coccobius debachi),ด้วงคล้ายมด (anthicid)

วิธีการควบคุม (Control measure)

กำจัดมดซึ่งเป็นตัวนำเพลี้ยหอยให้เคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่างๆของพืช ใช้สารกำจัดแมลงเมื่อมีการระบาด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์, ประดิษฐ์ ปัญญาชาติรักษ์ และ โกศล เจริญสม. มปป. การควบคุมศัตรูส้มโดยชีววิธี. URL http://web.ku.ac.th/nk40/prapat.htm
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทรา. 2551. แมลงศัตรูที่สำคัญในระยะพัฒนาต่างๆของส้มเขียวหวานและส้มโอ. เอกสารวิชาการ. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. 56 หน้า.
[5] สวนสัตว์แมลงสยาม. มปป. เพลี้ยหอยแดง ศัตรูส้มที่สำคัญที่พบในมะม่วงที่ปลูกในกรุงเทพฯ. URL http://www.malaeng.com/blog/?cat=131
[6] อนันต์ สกุลกิม. 2540. เอกสารคำสอนรายวิชาแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจ. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 370 หน้า.
[7] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

-

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication