Chilo infuscatellus (Snellen)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Chilo infuscatellus (Snellen)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Chilotraea infuscatella, Proceras infuscatellus, Argyria coniorta, Argyria sticticraspis, Diatraea shariinensis, Diatraea sticticraspis, Proceras sticticraspis, Chilo tadzhikiellus, Diatraea infuscatella, Argyria infuscatella, Argyria shariinensis, Proceras infuscatella, Diatraea calamina, Diatraea auricilia
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนอนกอลายจุดเล็ก
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  sugarcane yellow top borer

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Lepidoptera
           Family  Crambidae
              Genus  Chilo
                Species  infuscatellus

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

หนอนที่ฟักจากไข่และตัวอ่อนระยะที่ 2 จะกินเยื่อผิวใบอ้อย ตัวอ่อนระยะที่ 3 จะทิ้งตัวมาที่โคนหน่อแล้วกัดกินยอดอ่อน หนอนวัยที่ 3 ทิ้งตัวลงมาเจาะที่โคนหน่ออ้อยระดับผิวดินกัดกินส่วนเจริญเติบโตของอ้อยทำให้ยอดอ้อยแห้งตาย ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ยอด,ใบ,ลำต้น,หน่อ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ลำต้น,ใบ

การแพร่กระจาย (Distribution)

มักพบในแปลงปลูกออ้อยตลอดอายุการเติบโต พบได้ทั่วประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แตนเบียนไข่ (Trichogramma chilonis Ishii, Telenomus beneficiens Zehntner), ตัวห้ำไข่ (Anthicus ruficollis Saund, Formicomus braminus), แตนเบียนหนอน (Cotesia sp.), Bracon chinensis

วิธีการควบคุม (Control measure)

หลังเก็บเกี่ยวใช้ใบอ้อยคลุมดินเพื่อป้องกันการทำลายของหนอน ในแหล่งที่พบการระบาดรุนแรงเป็นประจำให้ปลูกอ้อยหลายๆพันธุ์คละกันและควรปลูกพันธุ์ทนทานปานกลางร่วมด้วย ตัดลำอ้อยที่ถูกทำลายแล้วผ่าลำอ้อยทำลายหนอนที่อยู่ภายใน ใช้ศัตรูธรรมชาติ ใช้สารเคมีป้องกันกำจัด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[3] สถาบันวิจัยพืชไร่. 2544. การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 104 หน้า.
[4] โกศล เจริญสม. 2525. แมลงอ้อย. ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 108 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication