ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Acrocercops symbolopis Meyrick
ชื่อพ้อง (Synonym)
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนชอนใบมังคุด
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) leafminer
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Gracilariidae
Genus Acrocercops
Species Acrocercops symbolopis
ระยะตัวหนอนจะเข้าทำลายใบอ่อนตัวหนอนฟักจากไข่จะชอนไชกัดกินและขับถ่ายอยู่ระหว่างผิวใบ รอยทำลายมีลักษณะแผ่กว้างเห็นเป็นแผ่นสีดำ ทำให้ใบแคระแกร็น บิดเบี้ยว ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ
พืชอาศัยหลัก (Main host)
มังคุด : mangosteen (Garcinia mangostana)
ละมุด : sapodillanisperosapatiasapolillechickle tree (Manilkara zapota)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ใบ
Asia: Thailand
ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกมังคุดและละมุด ในภาคตะวันออกและภาคใต้
Ageniaspis citricola, Kratoysma sp., Sympiesis striatipes, Elasmus sp., Cirospilus ingenuus,
Eurytoma sp., Quadrastichus sp., Citrostichus phyllocnistoides
สำรวจยอดอ่อนหรือใบอ่อนถ้าพบใบอ่อนที่เพิ่งคลี่ถูกหนอนชอนใบทำลายมากกว่า 30% ให้พ่นสารฆ่าแมลง
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] จักรพงษ์ เจิมศิริ และ จุฑาณัฐ ปานนิ่ม. 2543. คู่มือนักวิชาการภาคสนาม แมลงศัตรูไม้ผล. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผล สมุนไพรและเครื่องเทศ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร. 85 หน้า.
[3] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[4] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.
-
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable