Nephotettix virescens (Distant)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Nephotettix virescens (Distant)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Cicada bipunctata, Nephotettix bipunctata, Nephotettix bipunctatus, Nephotettix impicticeps, Nephotettix oryzii, Nephotettix yapicola, Selenocephalus virescens
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  เพลี้ยจักจั่นสีเขียวข้าว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  rice green leafhopper

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Hemiptera
           Family  Cicadellidae
              Genus  Nephotettix
                Species  virescens

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและลำต้นข้าวได้ทุกช่วงอายุ ทำให้ใบและลำต้นเหลืองหรือเป็นจุดเหลืองหรือน้ำตาล ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,ต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าว : rice (Oryza sativa)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ,ต้น

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกข้าว พบได้ทั่วประเทศ พบในข้าวนาปีมากกว่านาปรัง

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

Anagrus optabilis Perkins, Gonatocerus sp., Mymar taprobanicum Ward, Oligosita sp., Pipunculus mutillatus Loew, Tomosvaryella oryzaetora Koizumi, Haplogonatopus apicalis Perkins, Araneus inustus Koch

วิธีการควบคุม (Control measure)

ใช้พันธุ์ต้านทาน หมั่นตรวจดูแปลงนาอย่างสม่ำเสมอ ช่วงที่พบแมลงมาก ควรติดหลอดแสงไฟล่อแมลงและทำลายเสีย ใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] กรมวิชาการเกษตร. มปป. เพลี้ยจั๊กจั่นสีเขียว. URL http://www.agriqua.doae.go.th/plantclinic/Clinic/plant/rice/hopper.html
[3] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[6] อนันต์ สกุลกิม. 2540. เอกสารคำสอนรายวิชาแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจ. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 370 หน้า.
[7] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication