Lepidiota stigma (Fabricius)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Lepidiota stigma (Fabricius)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Melolontha stigma (Fabricius)
Lepidiota alba Fabricius
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  แมลงนูนหลวง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  sugarcane white grub

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Coleoptera
           Family  Scarabaeidae
              Genus  Lepidiota
                Species  Lepidiota stigma

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

เมื่อฟักออกเป็นตัวหนอนแล้ว มันจะอาศัยอยู่ในดินกินรากอ้อยกัดกินรากทำให้เกิดอาการคล้ายขาดน้ำ คือ ใบเหลืองและแห้งตาย ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ราก,ฝัก

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
กาแฟ : coffee (Coffea sp.)
ยางพารา : rubber (Hevea brasiliensis)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

แตงโม : watermelon (Citrullus lanatus)
แตงโม : watermelon (Citrullus lanatus)
มันสำปะหลัง : cassava (Manihot esculenta)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ผล

การแพร่กระจาย (Distribution)

Asia:  China, India, Indonesia, Japan, Malaysia, Singapore, Thailand

ประเทศไทย : พบในแปลงอ้อยและมันสำปะหลัง พบเข้าทำลายอ้อยในจังหวัดชลบุรี ระยอง กาญจนบุรี ราชบุรี กำแพงเพชร

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

เชื้อราขาว (Beauveria bassiana), Campsomeris sp., Metarhizium anisopliae

วิธีการควบคุม (Control measure)

-เก็บตัวเต็มวัยมาทำลาย
-ไถพรวนหลาย ๆ ครั้ง ช่วยกำจัดหนอน
-ใช้สารเคมีกำจัดแมลง

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] กองป้องกันและกำจัดศัตรูพืช. มปป. แมลงนูนหลวง. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http://forecast.doae.go.th/web/cane//208-insect-pests-of-sugarcane/832-white-grub.html
[3] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] นิรนาม. มปป. แมลงศัตรูมันสำปะหลัง. URL www.moaccco24.org/web_cassava/...files/แมลงศัตรูมันสำปะหลัง.pdf
[6] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[7] สถาบันวิจัยพืชไร่. 2544. การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 104 หน้า.
[8] สถาบันวิจัยพืชไร่. มปป. แมลงนูนหลวงอ้อยและการป้องกันกำจัดโดยวิธีผสมผสาน. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. URL http://www.moac-info.net/modules/news/images/22_3_99078_แมลงนูนหลวง.pdf
[9] โกศล เจริญสม. 2525. แมลงอ้อย. ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 108 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication