ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Spodoptera exigua (Hübner)
ชื่อพ้อง (Synonym) Laphygma exigua, Susunai exigua, Laphygma flavimaculata, Caradrina exigua, Noctua exigua, Spodoptera flavimaculata
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนกระทู้หอม
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) beet armyworm
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Noctuidae
Genus Spodoptera
Species exigua
หนอนกัดกินพืชในระยะกล้ากัดกินผล ใบ ยอด ลำต้น ดอก ทำให้เกิดความเสียหาย ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล,ใบ,ยอด,ลำต้น,ดอก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
องุ่น : grape (Vitis vinifera)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
หน่อไม้ฝรั่ง : asparagus (Asparagus officinalis)
มะเขือเทศ : tomato (Lycopersicon esculentum)
ถั่วฝักยาว : yardlong bean, asparagus bean (Vigna sinensis var. sesquipedalis)
ถั่วลันเตา : pea, garden pea (Pisum sativum)
มันเทศ : sweet potato (Ipomoea batatas)
กระเจี๊ยบเขียว : okra (Abelmoschus esculentus)
พริก, พริกหวาน, พริกชี้ฟ้า : chili, pepper, bell pepper, goat pepper (Capsicum annuum)
มะระ : bitter gourd (Momordica charantia)
แตง, แตงกวา : cucumber (Cucumis sativus)
มะเขือ, พืชสกุล Solanum : Solanum (Solanum sp.)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ผล,ใบ,ยอด,ลำต้น,ดอก
พบในแปลงปลูกผัก ไม้ผล พืชไร่ ไม้ดอกทั่วไป พบระบาดในแปลงปลูกผักในจังหวัดราชบุรี กรุงเทพฯ นนทบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ปทุมธานี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
แตนเบียนหนอน (Apanteles sp., Cotesia sp.), เชื้อไวรัส Nuclear polyhedrosis virus (NPV), มวนพิฆาต (Eocanthocona furcellata), แบคทีเรีย (Bacillus thuringiensis)
วิธีกลโดยจับหนอนทำลาย ใช้ไวรัส NPV ใช้กับดักแสงไฟ ทำลายพืชอาศัยของหนอนรอบแปลงปลูก ใช้สารเคมีกำจัดแมลง
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 1983. Agricultural insect pests of the tropics and their control. Cambridge University Press, New York.
[3] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[4] USDA-APHIS-PPQ-CPHST-PERAL. 2004. Importation of fresh pepper fruit with stems (Capsicum annuum L., C. frutescen L., C. baccatum L., C. pubescens Ruiz and Pav. and C. chinense Jacq.) from Costa Rica, El Salvador, Guatemala, Honduras and Nicaragua into the United states. United States Department of Agriculture (USDA), Animal and Plant Health Inspection Service (APHIS), Plant Protection and Quarantine (PPQ), Center for Plant Health Science and Technology (CPHST) and Plant Epidemiology and Risk Analysis Laboratory (PERAL), Raleigh, NC.
[5] Waterhouse, D.F. 1993. The major arthropod pests and weeds of agriculture in Southeast Asia. Canberra, Australia: ACIAR.
[6] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[7] จักรพงษ์ เจิมศิริ และ จุฑาณัฐ ปานนิ่ม. 2543. คู่มือนักวิชาการภาคสนาม แมลงศัตรูไม้ผล. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผล สมุนไพรและเครื่องเทศ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร. 85 หน้า.
[8] สมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย. 2547. คำแนะนำ การป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืช. กลุ่มวิจัยกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
[9] อรนุช กองกาญจนะ และ วัชรา ชุณหวงศ์. 2540. แมลงศัตรูข้าวโพดและการป้องกันกำจัด. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวโพดและพืชไร่อื่นๆ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 37 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable