Euproctis fraterna (Moore)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Euproctis fraterna (Moore)
ชื่อพ้อง (Synonym)  -
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนอนบุ้งหูดำ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  coffee hairy caterpillar

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Lepidoptera
           Family  Lymantriidae
              Genus  Euproctis
                Species  Euproctis fraterna

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ระยะตัวหนอนเข้าทำลายพืช หนอนกัดกินใบและยอดอ่อน ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,ยอดอ่อน

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

มะม่วง : mango (Mangifera indica)
ละหุ่ง : castor bean (Ricinus communis)
ฝรั่ง : guava (Psidium guajava)
ทับทิม : pomegranate (Punica granatum)
พุทราจีน : jujube (Zizyphus jujuba)
หม่อน : mulberry (Morus alba)
พืชตระกูลส้ม : (Citrus sp.)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ / ยอดอ่อน

การแพร่กระจาย (Distribution)

Asia:  Bangladesh, India, Myanmar, Thailand

ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกมะม่วงและไม้ผลต่างๆ พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

มวนตัวห้ำ (Eocanthecona furcellata), แบคทีเรีย (Bacillus thuringiensis), Apanteles prodeniae, Bacillus thuringiensis kurstaki, Bacillus thuringiensis thuringiensis, Mesocomys orientalis, Trichogramma perkinsi, Trichogrammatoidea australicum

วิธีการควบคุม (Control measure)

ใช้ศัตรูธรรมชาติควบคุม

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Insect Museum,Department of Agriculture, THAILAND
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] วิวัฒน์ เสือสะอาด, โกศล เจริญสม และ อรพรรณ เกินอาษา. 2545. การใช้มวนตัวห้ำ Eocanthecona furcellata (Wolff) (Hemiptera: Pentatomidae) เพื่อเป็นการควบคุมแมลงศัตรูละหุ่งโดยชีววิธีในสภาพไร่, หน้า 82-90. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การควบคุมโรคพืชและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. วันที่ 18-19 กันยายน 2545. ภาควิชาโรคพืชและคลินิกสุขภาพพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
[5] องุ่น ลิ่ววานิช. 2554. ผีเสื้อและหนอน. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ. 230 หน้า
[6] อุดร อุณหวุฒิ, ศิริณี พูนไชยศรี, ชลิดา อุณหวุฒิ, ลักขณา บำรุงศรี, ชมพูนุท จรรยาเพศ, มานิตา คงชื่นสิน, เทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ยุวรินทร์ บุญทบ, พลอยชมพู กรวิภาสเรือง, ปราสาททอง พรหมเกิด, ปิยาณี หนูกาฬ, ดาราพร รินทะรักษ์, ณัฐวัฒน์ แย้มยิ้ม และ สิทธิศิโรดม แก้วสวัสดิ์. 2550. ศึกษาชนิดของแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืชของพืชนำเข้า. โครงการวิจัย วิจัยการกักกันพืช. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักพืช. 13 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication