Batocera rubus (Linnaeus, 1758)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Batocera rubus (Linnaeus, 1758)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Batocera albofasciata De Geer, 1775
Batocera albomaculatus Retz.
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  ด้วงหนวดยาวเจาะลำต้น
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  stem boring gurb, lateral-banded mango longhorn, rubber root borer

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Coleoptera
           Family  Cerambycidae
              Genus  Batocera
                Species  Batocera rubus

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายพืช กัดเปลือกไม้เป็นแผลเล็กๆตามลำต้นจากโคนถึงยอด ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ลำต้น,ยอด,ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

มะม่วง : mango (Mangifera indica)
ทุเรียน : durian (Durio zibethinus)
สาเก : breadfruit (Artocarpus altilis)
ขนุน : jackfruit (Artocarpus heterophyllus)
พืชสกุล Ficus : fig (Ficus sp.)
ยางพารา : rubber (Hevea brasiliensis)
โกโก้ : cocoa (Theobroma cacao)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

นุ่น : kapok (Ceiba pentandra)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ลำต้น / ยอด / ใบ

การแพร่กระจาย (Distribution)

Asia:  Bangladesh, Brunei Darussalam, Cambodia, China, India, Indonesia, Laos, Malaysia, Myanmar, Pakistan,  Philippines, Singapore, Sri Lanka, Taiwan, Thailand, Vietnam
Europe:  Italy

ประเทศไทย : พบในแปลงปลูกมะม่วง ทุเรียน นุ่น พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

เชื้อรา Metarhizium anisopliae Metch, Louricia ovivora Ferriere, Ooencyrtus batocerae Ferriere

วิธีการควบคุม (Control measure)

-การใช้เชื้อรา Metarhizium anisopliae Metch
-ใช้สารเคมี

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[3] เกรียงไกร จำเริญมา, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ศรุต สุทธิอารมณ์, ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทรา, วิภาดา ปลอดครบุรี และ เกรียงไกร จำเริญมา. 2549. การศึกษาประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดด้วงหนวดยาวเจาะลำต้นทุเรียนในระยะไข่. โครงการวิจัย ศึกษาการจัดการศัตรูพืชสำคัญทางเศรษฐกิจ. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 10 หน้า.
[4] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication