ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Dysmicoccus neobrevipes Beardsley
ชื่อพ้อง (Synonym) Dysmicoccus brevipes
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) เพลี้ยแป้งสับปะรดสีเทา
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) annona mealybug, grey pineapple mealybug
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Hemiptera
Family Pseudococcidae
Genus Dysmicoccus
Species Dysmicoccus neobrevipes
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายพืชดูดกินน้ำเลี้ยงบนผล ใบทำให้ใบซีดเหลือง ขับถ่ายมูลน้ำหวานทำให้เกิดราดำปกคลุมใบและกิ่งทำให้สังเคราะห์แสงไม่ได้ผลจึงเจริญไม่เต็มที่ ไม่มีคุณภาพ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล,ใบ
พืชอาศัยหลัก (Main host)
เตียบ , น้อยแน่ , มะนอแน่ , มะแน่ , มะออจ้า, มะโอจ่า, ลาหนัง, หน่อเกล๊าะแซ, หมักเขียบ : Sugar apple, Sweet sop, Custard apple (Annona squamosa)
ลิ้นจี่ : litchi (Litchi chinensis)
ส้ม, ส้มเช้ง, ส้มตรา หมากหวาน : sweet orangenavel orange (Citrus sinensis)
มังคุด : mangosteen (Garcinia mangostana)
ลองกอง : longkong (Aglaia dookkoo)
ทับทิม : pomegranate (Punica granatum)
กระท้อน, มะต้อง : santol (Sandoricum indicum)
ฝรั่ง : guava (Psidium guajava)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
พืชสกุล Phaseolus, สกุลถั่ว : bean (Phaseolus sp.)
เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
ทับทิม : pomegranate (Punica granatum)
มะเขือเทศ : tomato (Solanum lycopersicum)
มะเขือยาว : egg plant (Solanum melongena)
ถั่วพุ่ม : cowpea (Vigna unguiculata)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ผล
Asia: China, India, Japan, Malaysia, Pakistan, Philippines, Singapore, Sri Lanka, Taiwan, Thailand, Vietnam
Africa: Uganda
North America: Mexico, USA
Central America and Caribbean: Antigua and Barbuda, Bahamas, Costa Rica, Dominican Republic, El Salvador, Guatemala, Honduras, Jamaica, Martinique, Nicaragua, Panama, Puerto Rico, Trinidad and Tobago, United States Virgin Islands
South America: Brazil, Colombia, Ecuador, Peru, Suriname
Europe: Italy, Lithuania
Oceania: American Samoa, Cook Islands, Fiji, Guam, Kiribati, Marshall Islands, Northern Mariana Islands, Samoa
ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกไม้ผลทั่วไปในกรุงเทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม สมุทรสาคร ลพบุรี สระบุรี นครสวรรค์ จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ปราจีน ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ชุมพร สุราษฎร์ธานี
ด้วงเต่า (Nephus ryuguus H.Kamiya), แตนเบียน (Aprostocetus purpureus Cameron)
การเขตกรรม ทำความสะอาดแปลงปลูกโดยการไถกลบซากวัชพืชให้หมดโดยเร็วที่สุด เพื่อทำลายตัวแก่และแมลงพาหะ การตรวจสอบดูแปลงสับปะรดหากพบต้นที่แสดงอาการของโรคต้องรีบเก็บเผาทำลายทันที กำจัดแหล่งวัชพืชข้างเคียงเพื่อทำลายพืชอาศัย
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Jayma, L. and F.L. Ronald. 2007. Dysmicoccus neobrevipes (Beardsley). Crop Knowledge Master. URL http://www.extento.hawaii.edu/Kbase/crop/type/d_neobre.htm
[3] Waterhouse, D.F. 1993. The major arthropod pests and weeds of agriculture in Southeast Asia. Canberra, Australia: ACIAR.
[4] ชลิดา อุณหวุฒิ, บุปผา เหล่าสินชัย, สมหมาย ชื่นราม และ ศิริณี พูนไชยศรี. มปป. อนุกรมวิธานของเพลี้ยแป้งศัตรูส้ม มังคุดและลองกอง. กลุ่มงานอนุกรมวิธานแมลง กองกีฏและสัตววิทยา. 58 หน้า.
[5] บุปผา เหล่าสินชัย และชลิดา อุณหวุฒิ.2543. เพลี้ยแป้งและเพลี้ยหอยศัตรูที่สำคัญ. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. 70 หน้า
[6] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[7] อุดร อุณหวุฒิ, ศิริณี พูนไชยศรี, ชลิดา อุณหวุฒิ, ลักขณา บำรุงศรี, ชมพูนุท จรรยาเพศ, มานิตา คงชื่นสิน, เทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ยุวรินทร์ บุญทบ, พลอยชมพู กรวิภาสเรือง, ปราสาททอง พรหมเกิด, ปิยาณี หนูกาฬ, ดาราพร รินทะรักษ์, ณัฐวัฒน์ แย้มยิ้ม และ สิทธิศิโรดม แก้วสวัสดิ์. 2550. ศึกษาชนิดของแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืชของพืชนำเข้า. โครงการวิจัย วิจัยการกักกันพืช. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักพืช. 13 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable