ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Papilio demoleus Linnaeus, 1758
ชื่อพ้อง (Synonym) Orpheides erithonius (Moore)
Papilio demoleus f. demoleinus Jordan
Papilio epius Fabricius
Papilio erithonius Cramer
Papilio erithonius var. demoleinus Oberthür
Princeps demoleus Linnaeus
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนแก้วส้ม ผีเสื้อหนอนมะนาว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) citrus dog, chequered swallowtail, lemon butterfly, lemon caterpillar, lime butterfly, lime swallowtail, orange butterfly
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Papilionidae
Genus Papilio
Species Papilio demoleus
หนอนระยะแรกจะกัดกินใบอ่อนและยอดอ่อน หนอนเมื่อโตขี้นจะกัดกินทั้งใบอ่อนและใบแก่ กัดกินใบจนเหลือแต่ก้านใบ ถ้าระบาดตอนระยะต้นอ่อนจะทำให้ต้นแคระแกร็น ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ยอดอ่อน,ใบ,ดอก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ส้ม, ส้มเช้ง, ส้มตรา หมากหวาน : sweet orangenavel orange (Citrus sinensis)
มะนาว : lime (Citrus aurantifolia)
มะกรูด : Kaffir lime (Citrus hystrix)
พืชตระกูลส้ม : (Citrus sp.)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
เตียบ , น้อยแน่ , มะนอแน่ , มะแน่ , มะออจ้า, มะโอจ่า, ลาหนัง, หน่อเกล๊าะแซ, หมักเขียบ : Sugar apple, Sweet sop, Custard apple (Annona squamosa)
พุทรา : jujube (Ziziphus mauritiana)
ยอดอ่อน / ใบ / ดอก
Asia: Afghanistan (restricted distribution), Bahrain, Bangladesh, Bhutan, Cambodia, China, India, Indonesia, Iran, Iraq (restricted distribution), Kuwait (restricted distribution), Laos, Malaysia, Myanmar, Nepal, Oman, Pakistan, Philippines, Qatar (restricted distribution), Saudi Arabi, Singapore, Sri Lanka, Syria, Taiwan, Thailand, Turkey, United Arab Emirates (restricted distribution), Vietnam
Central America and Caribbean: Cuba, Dominican Republic, Jamaica, Puerto Rico
Europe: Portugal
Oceania: Australia
ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกส้มและมะนาว พบได้ทั่วประเทศ
Bacillus thuringiensis thuringiensis, Bracon hebetor, Erycia nymphatidophoga, Holcojoppa coelopyga, Ooencyrtus papilionis, Polistes olivaceus, Pteromalus puparum, Stegodyphus sarasinorum, Telenomus sp., Telenomus talaus, Trichogramma chilonis, Trichogramma papilionides
-หมั่นสำรวจในระยะใบอ่อนโดยเฉพาะฤดูฝน
-ใช้ศัตรูธรรมชาติ
-ใช้สารเคมีกำจัดแมลงเมื่อพบการทำลายมากกว่า 25%
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] ศิริวรรณ ทุนคุ้มทอง, สุดารัตน์ เชาวลิตร, เปรมพันธุ์ ชัยพร และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2547. การสำรวจรวบรวม และประเมินผลศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทย, หน้า 1-15. ใน การประชุมวิชาการประจำปี 2547. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.
[5] โครงการพัฒนาการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร. 2541. คู่มือเกษตรกร โรค แมลง ไรศัตรูส้ม และการจัดการ. โครงการความร่วมมือระหว่างทบวงมหาวิทยาลัยและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 66 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable