Eublemma versicolor (Walker)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Eublemma versicolor (Walker)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Eublemma versicolora
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนอนกินดอกเงาะ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  inflorescence eating caterpillar

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Lepidoptera
           Family  Noctuidae
              Genus  Eublemma
                Species  versicolor

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ระยะตัวหนอนเข้าทำลายพืชช่วงออกดอกกัดกินดอก ใบอ่อนและยอดอ่อนโดยสร้างทางด้วยขี้หนอนและใยเป็นสีน้ำตาลไปตามกิ่งหรือช่อดอก และกินดอกจนหมดเป็นช่อๆ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,ยอด,ดอก,ช่อดอก

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
ลำไย : longan (Dimocarpus longan)
ลิ้นจี่ : litchi (Litchi chinensis)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

ทุเรียน : durian (Durio zibethinus)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
ส้มโอ : pomelo (Citrus grandis)
ชมพู่ : rose apple (Eugenia sp.)
ขี้เหล็ก : yellow cassia (Senna siamea)
นุ่น : kapok (Ceiba pentandra)
ชงโค : Orchid Tree, Purple Orchid Tree, Butterfly Tree (Bauhinia glauca Wall. ex Benth. )
อินทนิล : Queen’s crape myrtle , Pride of India ( Lagerstroemia speciosa (L.) Pers.)
ยี่เข่ง : Crape myrtleSaoni (Lagerstroemia indica)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ,ยอด,ดอก,ช่อดอก

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในแหล่งปลูกเงาะ ลำไย ลิ้นจี่ พบได้ทั่วประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แตนเบียนไข่ (Tetrastichus sp.), แตนเบียนหนอน (Apanteles sp., Elasmus sp.), แตนเบียนดักแด้ (Brachymeria spp.), มดแดงตัวห้ำ (Oecophylla smaragdina)

วิธีการควบคุม (Control measure)

วิธีกลหมั่นสำรวจช่อดอกเงาะเมื่อพบทางสีน้ำตาลให้แกะดูถ้าพบตัวหนอนให้จับทำลาย ใช้ศัตรูธรรมชาติ ใช้สารเคมี

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Insect Museum,Department of Agriculture, THAILAND
[3] กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผล สมุนไพรและเครื่องเทศ. 2542. แมลงศัตรูเงาะที่สำคัญ. URL http://ait.nisit.kps.ku.ac.th/dbpomology/ple1/Rambutan/ram6.php
[4] จักรพงษ์ เจิมศิริ และ จุฑาณัฐ ปานนิ่ม. 2543. คู่มือนักวิชาการภาคสนาม แมลงศัตรูไม้ผล. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผล สมุนไพรและเครื่องเทศ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร. 85 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication