ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Plocaederus ruficornis (Newman)
ชื่อพ้อง (Synonym) Plocaederus fulvicornis, Plocaederus pruinosus
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ด้วงหนวดยาวมะม่วง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) stem boring grub
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Coleoptera
Family Cerambycidae
Genus Plocaederus
Species ruficornis
ระยะตัวหนอนเข้าทำลายต้นพืชตัวหนอนจะเจาะลำต้นหรือกิ่งและเคลื่อนที่ไปตามแนวทางที่กัดกิน ทำให้ลำต้นอ่อนแอและใบเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและร่วงหล่น ต้นจะตายอย่างรวดเร็วเมื่อมีการทำลายรอบลำต้น ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ลำต้น,กิ่ง
พืชอาศัยหลัก (Main host)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ลำต้น,กิ่ง
พบในแหล่งปลูกมะม่วง พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ
เชื้อรา (Metarhizium anisopliae Metch)
เมื่อพบตัวเต็มวัยซึ่งเป็นด้วงปีกแข็งมีหนวดยาวให้จับทำลายเพื่อป้องกันการขยายพันธุ์ กิ่งที่ถูกหนอนทำลายถ้าเป็นไปได้ก็ควรตัดเผาไฟเสีย สำหรับต้นที่ถูกทำลายจนตายให้รีบโค่นแล้วเผาไฟ ในระยะที่พบหนอนเริ่มทำลายให้แกะเปลือกออกแล้วพ่นหรือทาลำต้นด้วยสารฆ่าแมลง
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] กรมวิชาการเกษตร. มปป. มะม่วง (Mango). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http://203.172.198.146/rice/rice.mix2/body-5.html
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] เกรียงไกร จำเริญมา, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ศรุต สุทธิอารมณ์, ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทรา, วิภาดา ปลอดครบุรี และ เกรียงไกร จำเริญมา. 2549. การศึกษาประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดด้วงหนวดยาวเจาะลำต้นทุเรียนในระยะไข่. โครงการวิจัย ศึกษาการจัดการศัตรูพืชสำคัญทางเศรษฐกิจ. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 10 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable