ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Hypomeces squamosus (Fabricius)
ชื่อพ้อง (Synonym) Atemtonychus gossipi, Atemtonychus peregrinus, Curculio aurulentus, Curculio orientalis, Curculio pulverulentus
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) แมลงค่อมทอง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) green weevil
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Coleoptera
Family Curculionidae
Genus Hypomeces
Species squamosus
ระยะตัวหนอนอาศัยอยู่ในดิน ระยะตัวเต็มวัยกัดกินระยะต้นอ่อน ด้วงงวงในวงศ์นี้เป็นศัตรูสำคัญของพืชไร่หลายชนิด นอกจากนี้ยังพบทำลายกุหลาบและพืชที่ปลูกในโรงเรือน กัดกินใบพืช ยอดอ่อนและดอก ใบที่ถูกทำลายจะเว้าๆแหว่งๆ ถ้าระบาดรุนแรงจะเหลือแต่ก้านใบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ยอด,ใบ,ดอก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ส้ม, ส้มเช้ง, ส้มตรา หมากหวาน : sweet orangenavel orange (Citrus sinensis)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
เตียบ , น้อยแน่ , มะนอแน่ , มะแน่ , มะออจ้า, มะโอจ่า, ลาหนัง, หน่อเกล๊าะแซ, หมักเขียบ : Sugar apple, Sweet sop, Custard apple (Annona squamosa)
ทุเรียน : durian (Durio zibethinus)
ลิ้นจี่ : litchi (Litchi chinensis)
พุทราจีน : jujube (Zizyphus jujuba)
ลำไย : longan (Dimocarpus longan)
มะปราง, มะยงชิด, มะปราง : Plum Mango Tree (Bouea macrophylla)
กระท้อน, มะต้อง : santol (Sandoricum indicum)
นุ่น : kapok (Ceiba pentandra)
ทานตะวัน : common sunflower (Helianthus annuus)
โกโก้ : cocoa (Theobroma cacao)
เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ยอด,ใบ,ดอก
พบในแหล่งปลูกพืชผลทั่วไป แหล่งปลูกส้มจะพบระบาดแถบภาคใต้และภาคเหนือ พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ
เชื้อราขาว (Beauveria bassiana), เชื้อราเขียว (Metharizium anisopliae)
ตัวเต็มวัยของแมลงชนิดนี้มีอุปนิสัยชอบทิ้งตัวเมื่อได้รับความกระทบกระเทือนอาจใช้สวิงรออยู่ใต้กิ่งแล้วเขย่าตัวเต็มวัยจะตกลงในสวิงแล้วนำไปทำลาย ใช้สารเคมีป้องกันกำจัด
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Triplehorn, C.A. and N.F. Johnson. 2005. 7th ed. Borror and DeLong’s Introduction to the
study of insects. Thomson Brooks/Cole, Belmont, CA. 864 pp.
[3] กรมวิชาการเกษตร. มปป. มะม่วง (Mango). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http://203.172.198.146/rice/rice.mix2/body-5.html
[4] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[5] จรัสศรี วงศ์กำแหง. 2548. การบริหารการจัดการแมลงถั่วลิสงที่สำคัญในแหล่งปลูกภาคใต้ ผลงานฉบับเต็ม ขอประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนักวิชาการเกษตร 8 ว. ศูนย์วิจัยพืชไร่สงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8. กรมวิชาการเกษตร.
[6] ผานิต งานกรณาธิการ. 2548. การสำรวจเชื้อรา Beauveria bassiana (Bals) ที่มีผลต่อการเกิดโรคแมลงศัตรูพืชในภาคใต้. การพัฒนาโกโก้ในประเทศไทย. ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 กรมวิชาการเกษตร. 74 หน้า.
[7] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[8] อุดร อุณหวุฒิ, ศิริณี พูนไชยศรี, ชลิดา อุณหวุฒิ, ลักขณา บำรุงศรี, ชมพูนุท จรรยาเพศ, มานิตา คงชื่นสิน, เทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ยุวรินทร์ บุญทบ, พลอยชมพู กรวิภาสเรือง, ปราสาททอง พรหมเกิด, ปิยาณี หนูกาฬ, ดาราพร รินทะรักษ์, ณัฐวัฒน์ แย้มยิ้ม และ สิทธิศิโรดม แก้วสวัสดิ์. 2550. ศึกษาชนิดของแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืชของพืชนำเข้า. โครงการวิจัย วิจัยการกักกันพืช. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักพืช. 13 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable