Cnaphalocrocis medinalis (Guenée)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Cnaphalocrocis medinalis (Guenée)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Cnaphalocerus medinalis, Salbia medinalis, Botys rutilalis, Botys iolealis, Cnaphalocrocis jolinalis, Botys acerrimalis, Marasmia medinalis castensziana, Botys fasciculatalis, Botys nurscialis, Cnaphalocrocis iolealis
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนอนห่อใบข้าว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  rice leaffolder

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Lepidoptera
           Family  Crambidae
              Genus  Cnaphalocrocis
                Species  medinalis

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ตัวหนอนในระยะแรกกัดกินผิวใบอ่อนๆ แต่ไม่ห่อใบข้าว หนอนจะเอาใบข้าวห่อหุ้มตัวคล้ายหลอดแล้วกัดกินใบอยู่ภายในนั้นทำให้บริเวณที่ถูกกัดกินขาวใสเป็นทางยาวขนานกับเส้นกลางใบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าว : rice (Oryza sativa)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
ข้าวฟ่าง : sorghum (Sorghum bicolor)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบเฉพาะนาข้าวในเขตชลประทานที่มีการใช้ปุ๋ยในอัตราสูง พบได้ทั่วประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

Trichogramma confusum Viggiani, Elasmus sp.,Stenomesius japonicus (Ashmead), Litomastix sp., Chelonus munakatae (Munakata), Brachymeria excarinata (Gahan), Trichospilus pupivora Ferriere, Metioche vittaticollis (Stal), Odontoponera transversa (Smith)

วิธีการควบคุม (Control measure)

ในพื้นที่ที่มีการระบาดเป็นประจำควรปลูกข้าว 2 พันธุ์ขึ้นไปโดยปลูกสลับพันธุ์กัน กำจัดพืชอาศัย ไม่ควรใช้สารฆ่าแมลงชนิดเม็ดและสารกลุ่มไพรีทรอยด์สังเคราะห์เพราะศัตรูธรรมชาติจะถูกทำลาย ใช้สารฆ่าแมลงเมื่อมีการระบาด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Hill, D.S. 2008. Pests of crops in warmer climates and their control. Springer Science Business Media., B.V.
[3] กองป้องกันและกำจัดศัตรูพืช. มปป. หนอนห่อใบข้าว (Rice leaffolder). กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. URL http://forecast.doae.go.th/web/rice//35-insect-pests-of-rice/64-rice-leaffolder.html
[4] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[5] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[6] สวนสัตว์แมลงสยาม. 2554. หนอนหัวดำมะพร้าว แมลงศัตรูมะพร้าวที่สำคัญ. URL http://www.malaeng.com/blog?cat=6
[7] สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว. มปป. ศัตรูข้าวและการป้องกันกำจัด หนอนห่อใบข้าว. กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. URL http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=50.htm
[8] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.
[9] โกศล เจริญสม และ วิวัฒน์ เสือสะอาด. 2537. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. เอกสารพิเศษฉบับที่ 6. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคกลาง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 144 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication