ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Leptocorisa acuta (Thunberg)
ชื่อพ้อง (Synonym) Cimex acutus Thunberg, 1783
Cimex angustata Fabricius, 1787
Gerris varicornis Fabricius
Leptocorisa flavida Guer.
Leptocorisa varicornis (Fabricius)
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) แมลงสิง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) Asian rice bug, paddy bug; paddy fly, rice bug, rice sappers, slender rice bug, rice seed bug
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Hemiptera
Family Coreidae
Genus Leptocorisa
Species Leptocorisa acuta
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายพืชในระยะออกรวง ดูดกินน้ำเลี้ยงจากเมล็ดข้าวระยะเป็นน้ำนมทำให้เมล็ดลีบหรือเมล็ดไม่สมบูรณ์และผลผลิตข้าวลดลง ข้อสังเกตถ้ามีแมลงสิงระบาดในนาข้าวจะได้กลิ่นเหม็นฉุน ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,เมล็ด
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ข้าว : rice (Oryza sativa)
พืชวงศ์ POACEAE, วงศ์ไม้ไผ่และหญ้า : Poaceae (Poaceae)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
ชา : tea (Camellia sinensis)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
หญ้ากินนี : proso millet (Panicum miliaceum)
พืชสกุล Phaseolus, สกุลถั่ว : bean (Phaseolus sp.)
ถั่วลันเตา : pea, garden pea (Pisum sativum)
เมล็ด
Asia: Bangladesh, Bhutan, Brunei Darussalam, Cambodia, China (restricted distribution), India, Indonesia, Iran, Laos (restricted distribution), Malaysia, Myanmar, Pakistan, Philippines, Singapore, Sri Lanka, Taiwan, Thailand, Vietnam
Oceania: American Samoa, Australia (restricted distribution), Fiji, Micronesia Federated states of, New Caledonia, Northern Mariana Islands, Palau, Papua New Guinea, Samoa, Solomon Islands, Tonga, Vanuatu
ประเทศไทย : พบในแหล่งปลูกข้าว พบได้ทั่วประเทศ
เชื้อราเขียว (Metarhizium anisopliae), แตนเบียน (scelionid), Beauveria bassiana, Conocephalus sp., Euagoras sp., Gryon nixoni, Homorocoryphus longipennis, Micraspis discolor, Neurothemis fluctuans, Ooencyrtus papilionis, Orthetrum sabina
-ใช้สวิงโฉบจับตัวอ่อนและตัวเต็มวัยในนาข้าวที่พบระบาดและนำมาทำลาย ตัวเต็มวัยชอบกินเนื้อเน่านำเนื้อเน่าแขวนไว้ตามนาข้าวและจับมาทำลาย
-หลีกเลี่ยงการปลูกข้าวต่อเนื่องเพื่อลดการแพร่ขยายพันธุ์
-ใช้สารฆ่าแมลงตามคำแนะนำ
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] กรมการข้าว. มปป. แมลงสิง (rice bug, stink bug). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. URL http://www.brrd.in.th/rkb/data_005/rice_xx2-05_bug09.html
[3] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[4] สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน). มปป. เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก (zigzag leafhopper). URL http://kasetinfo.arda.or.th/rice/rice-cultivate_enemy_insect2zigzag%20leafhopper.html
[5] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable