ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Achaea janata Linnaeus
ชื่อพ้อง (Synonym) Achaea melicerta
Catocala traversii Fereday, 1877
Noctua tigrina Fabricius, 1775
Ophiusa ekeikei Bethune-Baker, 1906
Ophiusa janata
Ophiusa melicerta
Phalaena (Geometra) janata Linnaeus, 1758
Phalaena (Noctua) melicerta Drury [1773]
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) หนอนคืบละหุ่ง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) castor semilooper, caterpillar, croton
Phylum Arthropoda
Class Insecta
Order Lepidoptera
Family Noctuidae
Genus Achaea
Species Achaea janata
ตัวหนอนเข้าทำลายพืชทุกระยะการเจริญเติบโตกัดกินใบจนเหลือแต่ก้าน ถ้าระบาดจะทำให้ต้นแคระแกร็น ไม่ออกดอกติดผล ช่อดอกเหี่ยว ผลลีบร่วงหล่นและเมล็ดลีบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล,ใบ,ช่อดอก,ยอดอ่อน
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ละหุ่ง : castor bean (Ricinus communis)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
พืชตระกูลส้ม : (Citrus spp.)
ถั่วเหลือง : soyabean (Glycine max)
น้ำเต้า : bottle gourd (Lagenaria siceraria)
ทับทิม : pomegranate (Punica granatum)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
ชบาแดง : Chinese Rose, Shoe Flower (Hibiscus rosa-sinensis)
มะเขือเทศ : tomato (Solanum lycopersicum)
มะขาม : tamarind (Tamarindus indica)
โกโก้ : cocoa (Theobroma cacao)
ถั่วเขียวเมล็ดดำ : black gram (Vigna mungo)
พุทรา : jujube (Ziziphus mauritiana)
ผล,ใบ
Asia: Cambodia, China, India, Indonesia, Laos, Malaysia, Myanmar, Philippines, Thailand, Vietnam
Tanzania, Togo, Tunisia, Uganda, Zambia, Zimbabwe
North America: USA
Oceania: Australia, Papua New Guinea
ประเทศไทย : พบในแปลงปลูกละหุ่ง และไม้ผล ในจังหวัดกาญจนบุรี นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ เลย กำแพงเพชร พิจิตร แพร่ น่าน ลำปาง เชียงใหม่ เชียงราย
Charops erytrogaster Ashm
แตนเบียน (Trichogramma achaeae,Microplitis maculipennis)
มวนตัวห้ำ (Eocanthecona furcellata)
แบคทีเรีย (Bacillus thuringiensis)
หมั่นตรวจสอบหนอนคืบอยู่เสมอ ใช้สารเคมีกำจัดเมื่อมีการระบาด
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Insect Museum,Department of Agriculture, THAILAND
[3] กรมส่งเสริมการเกษตร. มปป. การป้องกันกำจัดศัตรูพืช. กรมส่งเสริมการเกษตร. URL http://www.doae.go.th/library/html/detail/lahung/page4.htm
[4] งานวินิจฉัยและกักกันศัตรูพืช. 2536. การวินิจฉัยโรค-แมลงศัตรูพืชและการควบคุม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 10-14 พฤษภาคม 2536.
[5] นิรนาม. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืชปี 2553. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 303 หน้า.
[6] พิมลพร นันทะ, จุฑารัตน์ อรรถจารุสิทธิ์, สถิต ปฐมรัตน์, รัตนา นชะพงษ์ และ รุจ มรกต. 2534. รายชื่อแมลงศัตรูธรรมชาติของพืชเศรษฐกิจบางชนิดในประเทศไทย, หน้า 88-117. ใน เอกสารวิชาการ เรื่องการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. กลุ่มงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร.
[7] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สวนสัตว์แมลงสยาม แม่ริม เชียงใหม่. 591 หน้า.
[8] พเยาว์ พรหมพันธุ์ใจ, ธำรง เชื้อกิตติศักดิ์ และ วิชน แนวน้อย. 2548. การศึกษาวิธีควบคุมแมลงศัตรูละหุ่ง. ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 กรมวิชาการเกษตร.
[9] วิวัฒน์ เสือสะอาด, โกศล เจริญสม และ อรพรรณ เกินอาษา. 2545. การใช้มวนตัวห้ำ Eocanthecona furcellata (Wolff) (Hemiptera: Pentatomidae) เพื่อเป็นการควบคุมแมลงศัตรูละหุ่งโดยชีววิธีในสภาพไร่, หน้า 82-90. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การควบคุมโรคพืชและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. วันที่ 18-19 กันยายน 2545. ภาควิชาโรคพืชและคลินิกสุขภาพพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
[10] องุ่น ลิ่ววานิช. 2554. ผีเสื้อและหนอน. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ. 230 หน้า
[11] อุดร อุณหวุฒิ, ศิริณี พูนไชยศรี, ชลิดา อุณหวุฒิ, ลักขณา บำรุงศรี, ชมพูนุท จรรยาเพศ, มานิตา คงชื่นสิน, เทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์, ยุวรินทร์ บุญทบ, พลอยชมพู กรวิภาสเรือง, ปราสาททอง พรหมเกิด, ปิยาณี หนูกาฬ, ดาราพร รินทะรักษ์, ณัฐวัฒน์ แย้มยิ้ม และ สิทธิศิโรดม แก้วสวัสดิ์. 2550. ศึกษาชนิดของแมลง/ไร/สัตว์ศัตรูพืชของพืชนำเข้า. โครงการวิจัย วิจัยการกักกันพืช. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักพืช. 13 หน้า.
-
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable