Conopomorpha cramerella Snellen

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Conopomorpha cramerella Snellen
ชื่อพ้อง (Synonym)  Acrocercops cramerella, Gracillaria cramerella, Zarathra cramerella
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนอนเจาะขั้วผลเงาะ, หนอนเจาะโกโก้
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  cocoa pod borer, cacao moth, cocoa mot, javanese cocoa moth, rambutan borer, ram-ram borer

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Insecta
       Order  Lepidoptera
           Family  Gracillariidae
              Genus  Conopomorpha
                Species  cramerella

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

เข้าทำลายบริเวณขั้วหรือต่ำลงมาจากขั้งผลเงาะเล็กน้อย หนอนกัดกินที่ขั้วเนื้อและบางทีถึงเมล็ด

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

โกโก้ : cocoa (Theobroma cacao)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ขั้วผล

การแพร่กระจาย (Distribution)

ในประเทศไทย พบทั่วไปในแหล่งปลูกเงาะ
ในต่างประเทศ มีรายงานพบในหลายประเทศใน Southeast Asia และ Oceania

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

ในต่างประเทศ มีรายงานพบศัตรูธรรมชาติ ดังนี้

  • ตัวห้ำ ได้แก่ Dolichoderus thoracicus
  • ตัวเบียน ได้แก่ Acrocerilia pachynervis, Bracon sp., Ceraphron aguinaldoi, Chelonus chailini, Chrysonotomyia sp., Diaglyptidea roepkei, Goryphus fasciatipennis, Goryphus javanicus, Goryphus mesoxanthus, Nesolynx thymus, Paraphylax fasciatipennis , Pediobius soror, Photoptera erythronota, Trichogrammatoidea bactrae fumata, Trichogrammatoidea cojuangcoi, Trichospilus pupivora
  • เชื้อโรค ได้แก่ Beauveria bassiana, Paecilomyces lilacinus, Paecilomyces fumosoroseus

วิธีการควบคุม (Control measure)

-เก็บผลเงาะที่ถูกทำลายหลุดร่วงไปฝังหรือเผา เพื่อป้องกันการระบาดในฤดูต่อไป
-บริเวณที่มีการระบาด เมื่อผลเงาะเปลี่ยนสีควรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดแมลงที่แนะนำในฉลากให้ใช้สำหรับป้องกันกำจัดหนอนเจาะขั้วผลเงาะ

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2014. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] กลุ่มกีฏและสัตววิทยา. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตวศัตรูพืช ปี 2553. เอกสารวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 303 หน้า.
[3] กลุ่มบริหารศัตรูพืช. 2554. แมลงศัตรูไม้ผล. เอกสารวิชาการ สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพฯ. 151 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

พิพิธภัณฑ์แมลง กลุ่มงานอนุกรมวิธานแมลง สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication