Phyllanthus urinaria L.

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Phyllanthus urinaria L.
ชื่อพ้อง (Synonym)  Phyllanthus urinaria subsp. chamaepeuce (Ridl.) G.L.Webster
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หญ้าใต้ใบ ไฟเดือนห้า มะขามป้อมดิน หมากไข่หลัง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  niruri

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Family  Euphorbiaceae
    Genus  Phyllanthus
          Species  niruri
              Variety  

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ (Botanical characteristics)

วัชพืชปีเดียว วัชพืชใบกว้างอายุปีเดียว พืชล้มลุก สูงถึง 60 ซม. ลำต้นและกิ่งเกลี้ยง มีลักษณะแบนและมีปีกเล็กน้อย หูใบ รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปสามเหลี่ยม ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 27 ยาว 818 มม. ก้านใบยาว 0.30.9 มม. โคนใบเบี้ยว ขอบใบมีขนเล็กน้อย ปลายใบมน หรือเป็นติ่งหนามสั้น ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้เป็นช่อกระจุกกลม 57 ดอกย่อย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรี หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 0.31.2 ยาว 0.20.6 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว มีขนาดใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผล แบบผลแห้งแตก ก้านยาว 0.50.8 มม. รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 24 มม. ผิวมีปุ่ม เมล็ด มีลักษณะสามมุม กว้าง 1 ยาว 1.5 มม.

ถิ่นที่อยู่ (Habitat)

มีการกระจายทั่วไปในเขตร้อนชื้นของโลก พบทั่วไปในพื้นที่เปิด พบตั้งแต่ระดับ 30-1100 ม. จากระดับน้ำทะเล  

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบระบาดทั่วไปในแหล่งเพาะปลูก พื้นที่รกร้างและริมทาง

พืชปลูกที่พบวัชพืชระบาด (Infestation in crop)

    Zea mays (ข้าวโพด : corn, maize)

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

-

วิธีการควบคุม (Control measure)

 ควบคุมโดยวิธีกล เช่น ใช้แรงงานคนถอน หรือตัดฟันก่อนที่พืชออกดอก หรือใช้วัสดุคลุมดินเพื่อไม่ให้ต้นอ่อนงอกและเจริญขึ้นมาเหนือดินได้   ควบคุมด้วยสารเคมี ใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทเลือกทำลายเฉพาะวัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น 2,4-D MCPA หรือสารกำจัดวัชพืชที่ไม่เลือกทำลายทำลาย เช่น พาราควอท ไกลฟอเสต หรือใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทคลุมฆ่า ก่อนต้นอ่อนงอก หรืองอกแล้วมีใบไม่เกิน 5 ใบ ซึ่งการใช้สารเคมีควบคุมวัชพืช ต้องเลือกสารกำจัดวัชพืชที่ไม่เป็นพิษต่อพืชปลูก และขณะฉีดพ่นต้องไม่ให้ถูกพืชปลูกด้วย เช่น Bentazone, butachlor, 2,4-D, MCPA และ oxidiazon ในข้าว nicosulphuron acetochlor ในข้าวโพด cyanazine, metolachlor, metribuzin และ cinmethylin ในถั่วเหลือง

เอกสารอ้างอิง (Reference)

 [1] Crop Protection Compendium. 2011. URL: http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Noda, K. 1984. Major weeds in Thailand. illustrated by color. Project Mannual No.1 JICA/DOA., MOAC, Thailand. 142 pp.
[3] Plants Database. 2013. Needle and thread. Natural Resources Conservation Service (NRCS). USDA. URL: http://plants.usda.gov/java/
[4] พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. 2540. วัชพืชศาสตร์. โรงพิมพ์ลินคอร์น, กรุงเทพฯ. หน้า 106-134, 467-492, 225-239.
[5] ระบบสืบค้นข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2555. URL:http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_page.asp
[6] อำไพ ยงบุญเกิด. 2514. เอกสารทางวิชาการ วัชพืชบางชนิดในไร่ข้าวโพด. กองพืชพันธุ์ กรมกสิกรรม. 31 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication