Aeschynomene indica L.

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Aeschynomene indica L.
ชื่อพ้อง (Synonym)  Aeschynomene cachemiriana Cambess.
Aeschynomene diffusa Willd.
Aeschynomene glaberrima Poir.
Aeschynomene indica var.punctata Pers.
Aeschynomene indica var.viscosa Miq.
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  โสนหางไก่
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  Indian joint vetch, sola pith plant

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Family  Fabaceae
    Genus  Aeschynomene
          Species  Aeschynomene indica
              Variety  

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ (Botanical characteristics)

วัชพืชประเภทใบกว้าง เป้นไม้ล้มลุกปีเดียว ลำต้นตั้งตรง ใบเป็นใบประกอบแบบขนไม่มีใบยอด ประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 2040 คู่ ใบย่อยรูปไข่ขอบขนาน ขนาดเล็ก โคนใบ่อยขนาดใหญ่กว่าปลายใบย่อย ช่อดอกมีดอกย่อยเกิดแยกกันบนก้านช่อดอก ดอกประกอบด้วยกลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สีหลืองครีม เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกเป็นสองกลุ่ม ๆ ละ 5 อัน ผลเป็นฝักขนาดเล็ก รูปทรงกระบอก เมล็ดสีน้ำตาลทอง 8-10 เมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด

ถิ่นที่อยู่ (Habitat)

พบขึ้นในนาข้าว หรือตามพื้นที่ชื้นแฉะมีน้ำท่วมขังเล็กน้อย

การแพร่กระจาย (Distribution)

Asia: Afghanistan, Cambodia, China, India (restricted distribution), Indonesia, Japan (restricted distribution), Korea (Republic of), Laos, Lebanon, Malaysia, Myanmar, Nepal, Philippines (restricted distribution), Sri Lanka, Taiwan, Thailand, Vietnam
Africa: Benin, Botswana, Congo Democratic Republic, Eritrea, Ethiopia, Gambia, Gabon, Ghana, Guinea-Bissau, Madagascar, Mali, Mauritius, Nigeria, Senegal, Zimbabwe
North America: USA 
Central America and Caribbean: Guatemala, Puerto Rico
South America: Colombia, Ecuador 
Oceania:  Australia, Fiji, Papua New Guinea
 

พืชปลูกที่พบวัชพืชระบาด (Infestation in crop)

    Oryza sativa (ข้าว : rice)
    Hevea brasiliensis (ยาง : rubber)  

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

วิธีการควบคุม (Control measure)

ควบคุมโดยวิธีกล เช่น ใช้แรงงานคนถอน หรือตัดฟันก่อนที่พืชออกดอกการควบคุมด้วยสารเคมี ใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทเลือกทำลายเฉพาะวัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น 2,4-D MCPA หรือสารกำจัดวัชพืชที่ไม่เลือกทำลายทำลาย เช่น พาราควอท ไกลดฟเสต หรือใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทคุุมฆ่า ก่อนต้นอ่อนงอก หรืองอกแล้วมีใบไม่เกิน 5 ใบ ซึ่งการใช้สารเคมีควบคุมวัชพืช ต้องเลือกสารกำจัดวัชพืชที่ไม่เป็นพิษต่อพืชปลูก เช่น Bentazone, butachlor, 2,4-D, และ oxidiazon ในข้าว alachlor acetochlor ในข้าวโพด S-metolachlor, metribuzin และ cinmethylin ในถั่วเหลือง เป็นต้น.

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] URL https://www.cabi.org/cpc/datasheet/3451

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication