Thielaviopsis paradoxa (De Seynes) Höhn., 1904

for Ceratocystis paradoxa (Dade) C. Moreau, 1952

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  

Thielaviopsis paradoxa (De Seynes) Höhn., 1904

for Ceratocystis paradoxa (Dade) C. Moreau, 1952


ชื่อพ้อง (Synonym)  Ceratocystis paradoxa (Dade) C. Moreau, 1952

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Ascomycota
    Class  Sordariomycetes
       Order  Microascales
          Family  Ceratocystidaceae
             Genus  Ceratocystis
             Species  paradoxa
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคผลเน่าสละ
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  fruit rot of salak

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

อาการรุนแรงจะเป็นสีน้้ำตาลเข้มจนถึงดำ เน่าลามทั้งผล พบเส้นใยบนผลเมื่อมีความชื้นสูง ขณะที่เนื้อภายในผลเริ่มแรกเป็นแผลสีน้้ำตาล และเน่าเละเป็นสีน้้ำตาลแก่จนถึงดำทั้งผล ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล ทั้งเปลือกนอกและเนื้อในผล

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

สละ : salak (Salacc edulis)
สับปะรด : pineapple (Ananas comosus)
พืชตระกูลปาล์ม : palm (Palm)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

คอนิเดียของเชื้อสะสมในดิน เศษซากพืช สามารถแพร่กระจายได้โดยลม น้ำ และเครื่องมือการเกษตร

การแพร่กระจาย (Distribution)

ในประเทศไทยพบในแหล่งปลูกสละ เช่นจันทบุรี ตราด (2000) นอกจากนี้มีรายงานพบในประเทศอินโดนีเซีย (2013)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

ในอากาศมีความชื้นสูง คอนิเดียจะงอก germ tube และเข้าทำลายผลหลังการเก็บเกี่ยว

วิธีการควบคุม (Control measure)

-ปรับสภาพสวนให้มีการระบายอากาศดี ควบคุมไม้ร่มเงา ให้สละได้รับแสงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์
-ผลที่แสดงอาการเน่าควรปลิดทิ้งพร้อมกับเก็บผลที่ร่วงหล่น เผาทาลายก่อนที่เชื้อราต่างๆ จะสร้างสปอร์สืบพันธุ์ต่อไป
-การป้องกันโดยการใช้สารจุลินทรีย์พ่น เพื่อควบคุมเชื้อสาเหตุ ก่อนเกิดการระบาด เช่น ฺBacillus subtilis
-การป้องกันโดยการใช้สารกำจัดเชื้อรากลุ่มคาร์บ๊อกซิน(carboxin)หรือไทอะเบ็นดาโซล(thiabendazol)ร่วมกับฟอสฟอรัสแอซิด(phosphorus acid)  5. ใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรเช่นขมิ้น ขิง

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Soytong, K. , Jikasemsuk, S. 2001. First report of Thielaviopsis paradoxa causing fruit rot on sala (Salacca edulis) in Thailand. Plant disease 85: 230-230.
[2] กรมวิชาการเกษตร. โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว. 134 หน้า.
[3] Dharmaputra O.S., Hasbullah R., Kusmiadi R. 2013. Ginger and Turmeric Extracts: Their Effects on Thielaviopsis paradoxa Infection of Salak Pondoh during Storage Acta Hort. 1011: 319-324.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication