Sphaceloma ampelinum de Bary, 1874 for Elsinoë ampelina Shear, 1929

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Sphaceloma ampelinum de Bary, 1874 for Elsinoë ampelina Shear, 1929
ชื่อพ้อง (Synonym)  

Elsinoë ampelina Shear, 1929, Elsinoë viticola Racib. [teleomorph] Racib., Gloeosporium ampelophagum (Pass.), Sacc. [anamorph] (Pass.) Sacc., Gloeosporium venetum Speg. [anamorph] Speg., Manginia ampelina (de Bary) Viala & Pacottet [anamorph] (de Bary) Viala & Pacottet, Plectodiscella veneta Burkh. [teleomorph] Burkh., Ramularia ampelophaga Pass. [anamorph] Pass., Ramularia meyeni Gar. & Catt. [anamorph] Gar. & Catt., Sphaceloma ampelinum de Bary [anamorph] de Bary, Torula meyeni Ber. & Terv. [anamorph] Ber. & Terv., Uleomyces parasiticus Henn. [teleomorph] Henn.

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Ascomycota
    Class  Dothideomycetes
       Order  Myriangiales
          Family  Elsinoaceae
             Genus  Elsinoë
             Species  ampelina
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  ใบแอนแทรคโนสองุ่น (โรคสแคบองุ่น)
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  Anthracnose of grapevine

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

เชื้อ Sphaceloma ampelinum เขาทําลายเนื้อเยื่อที่กําลังเจริญทุกสวน ไดแก ใบออน เถาออน ยอดออน และมือเกาะ โดยมักจะพบอาการของโรคในระยะติดผลจนถึงอายุ 2 เดือน อาการที่ผลออนจนผลเริ่มเปลี่ยนสีในบริเวณที่เชื้อเขาทําลาย เป็นแผลลักษณะยุบตัว บิดงอ ตอมาจะคอยๆ เปลี่ยนเปนสีน้ําตาล เทาและดํา ลักษณะคลายลูกตานก (bird’s eye rot) อาการที่ใบจะมีลักษณะฉ่ําน้ํา เปนจุดสีน้ําตาลขนาดเล็กถาอากาศรอนจัด บริเวณสีน้ําตาลจะเกิดเปนรอยใบทะลุ หากสภาพอากาศเหมาะตอการเจริญของเชื้อ จุดแผลที่เกิดขึ้นจะลุกลามติดตอถึงกัน ทําใหเกิดอาการใบแหงลงอยางรวดเร็วและรวง กรณีที่เชื้อเขาทําลายบริเวณ เสนใบ จะทําใหใบมวนงอลงดานลาง อาการบนเถาออนและมือเกาะเปนแผลสีน้ําตาลแดงถึงสีดํา มีลักษณะเปนตะปุมตะปา กลางแผลยุบตัวลงมีสีเขม   แผลของโรคสแคบเปนแผลตกสะเก็ด อาจปริเล็กนอย ไมแตกเปนรองลึก เนื้อใบรอบแผลไมเปนวงสีเหลือง (halo) ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ เถา ผล

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

องุ่น : grapevine (Vitis vinifera Linn.)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

แบคลเบอรี่ : blackberry (Rubus fruticosus)
ลาสเบอรี่ : raspberry (Rubus idaeus)

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

เชื้อสะสมอยู่ในเศษซากพืชที่เป็นโรคที่ตกค้างบนต้นและในแปลง

การแพร่กระจาย (Distribution)

ในป ค.ศ. 1874 De Bary พบโรคสแคบในแหลงปลูกองุนทางภาคตะวันออกของอเมริกา เปนครั้งแรกและรายงานวาเกิดจากเชื้อ Sphaceloma ampelinum ตอมามีการรายงานการเขาทําลายองุนในหลายประเทศ เชน ชิลี บราซิล คิวบา ออสเตรเลีย นิวกินี แซมเบีย อังกฤษ สเปน ญี่ปุ่น อาฟกานิสถาน อิหร่าน จีน พม่า อินเดีย แคนาดา และทั่วโลก ในประเทศไทยรายงานการพบโรคนี้ครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2506 ที่อําเภอ ปากชอง จังหวัดนครราชสีมา เรียกโรคนี้วา โรคแอนแทรคโนส โรคสแคบ หรือโรคอีบุบ ต่อมาพบในหลายจังหวัดที่ปลูกองุ่น เช่น นครราชสีมา ชลบุรี

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

มักเกิดการระบาดขึ้นเมื่อมีฝนตกอยางหนักนาน 24 ชั่วโมงหรือมากกวา และอุณหภูมิที่เหมาะสมในการแพรของเชื้ออยูระหวาง 24-26°ซ

วิธีการควบคุม (Control measure)

-พนสารปองกันกําจัดเชื้อราใหเพียงพอตั้งแตระยะชอดอกใบออนและใบแก สารเคมีที่ใหผลดีไดแกคารเบนดาซิม
-ควรหลีกเลี่ยงการตัดแตงกิ่งใหออก ดอกติดผลในชวงที่มีฝนตกชุก เนื่องจากเชื้อนี้จะเขาทําลายพืชไดดีในชวงฤดูฝน และควรนําสวนที่ เปนโรคไปทําลายนอกแปลงปลูก
-สารสกัดจากผลยอแกที่ระดับความเขมขน 10,000 ppm มี ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อที่สรางเสนใยและโคนิเดีย สวนสารสกัดจากผลมะตูมที่ระดับความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อที่สรางไดเฉพาะโคนิเดีย

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] กรรณิการ์ เพี้ยนภักตร์. 2547. Sphaceloma spp.สาเหตุโรคสแคปของพืชต่าง ๆ ในประเทศไทย: เอกสารวิชาการลำดับที่ 25/2547. กรมวิชาการเกษตร 76 หน้า.
[2] Poolsawat, O., Tharapreuksapong, A., Wongkaew, S., Reisch, B. and Tantasawat, P. (2010), Genetic Diversity and Pathogenicity Analysis of Sphaceloma ampelinum Causing Grape Anthracnose in Thailand. Journal of Phytopathology, 158: 837–840. doi: 10.1111/j.1439-0434.2010.01696.x
[3] Sompong M, Wongkaew S, Tantasawat P, Buensanteai N. 2012. Morphological, pathogenicity and virulence characterization of Sphaceloma ampelinum the causal agent of grape anthracnose in Thailand. African Journal of Microbiology Research 6: 2313-2320. DOI: 10.5897/AJMR11.1149
[4] Prakongkha I, Sompong M, Wongkaew, Athinuwat D., Buensanteai N. 2013. Changes in salicylic acid in grapevine treated with chitosan and BTH against Sphaceloma ampelinum, the causal agent of grapevine anthracnose. African Journal of Microbiology Research 7: 557-563. DOI: 10.5897/AJMR12.1320

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication