Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Rostovtsev

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Rostovtsev
ชื่อพ้อง (Synonym)  Peronoplasmopara cubensis, Peronospora cubensis, Plasmopara cubensis

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Oomycota
    Class  Peronosporomycetes
       Order  Peronosporales
          Family  Peronosporaceae
             Genus  Pseudoperonospora
             Species  cubensis
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคราน้ำค้างแตง
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  -

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

อาการส่วนใหญ่จะเกิดบนใบ โดยจะเริ่มจากจุดแผลสีเขียวต่อมาจะค่อยๆ ขยายโตขึ้นเป็นสีเหลืองและมีขอบเขตเป็นเหลี่ยมตามแนวหรือข่ายของเส้นใบ พบกลุ่มของเส้นใยและสปอร์ของเชื้อสาเหตุลักษณะเป็นขุย หรือผงสีเทา ซึ่งเมื่อแก่หรือแผลแห้งจะเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาล ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

แตงโม : watermelon (Citrullus lanatus)
แตง, แตงกวา : cucumber (Cucumis sativus)
แตงไทย, เมล่อน : muskmelon (Cucumis melo)
ฟักทอง : pumpkin (Cucurbita moschata)
มะระ : ornamental gourd (Cucurbita pepo)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

พืชตระกูลแตง, ฟักเขียว : Cucurbitaceae, wax gourd (Benincasa hispida)
น้ำเต้า : bottle gourd (Lagenaria siceraria)
มะระ : bitter gourd (Momordica charantia)
บวบงู : snake gourd (Trichosanthes cucumerina var. anguina)
บวบป้อม : pointed gourd (Trichosanthes dioica)

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

-ใบ, ต้นกล้า
-ฝน

การแพร่กระจาย (Distribution)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

-

วิธีการควบคุม (Control measure)

-ใช้พันธุ์ต้านทาน
-หลีกเลี่ยงการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ เว้นระยะปลูกให้มีพื้นที่ระหว่างต้นพืช

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[2] สุชีรา ธานีคำ. 2554. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา การเกิดโรคกับพืชอาศัย และความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อสาเหตุโรคราน้ำค้างของแตงกวาในภาคเหนือของประเทศไทย.วิทยานิพนธ์. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารศัตรูพืชอย่างยั่งยืน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
[3] ปิยะดา อลิฌาณ์ ตันตสวัสดิ์.2555. การพัฒนาพันธุ์แตงกวา (Cucumis sativus L.) ลูกผสมที่ต้านทานต่อโรคราน้ำค้าง(Development of hybrid cucumber (Cumis Sativus L.) for downy mildeewresistance).สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.ทุนจากสำนักงบประมาณ (ภายใต้การพิจารณาจัดสรรโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)
[4] การคัดเลือกจุลินทรีย์ปฏิปักษ์เพื่อควบคุมโรคราน้้าค้างของแตงกวา ที่เกิดจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis.การประชุมอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 11 อารักขาพืชไทย ก้าวไกลในประชาคมอาเซียน

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication