Puccinia polysora Undrew

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Puccinia polysora Undrew
ชื่อพ้อง (Synonym)  Dicaeoma polysorum (Undrew.) Arthur

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Basidiomycota
    Class  Pucciniomycetes
       Order  Pucciniales
          Family  Pucciniaceae
             Genus  Puccinia
             Species  polysora
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคราสนิมข้าวโพด
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  Southern rust

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

พบกลุ่มสปอร์สีส้มกระจายอยู่ทั่วใบ กาบใบ ลักษณะแผลเป็นจุดนูนเล็กๆ สีน้ำตาลแดง ขนาดของแผลประมาณ 0.2-2.0 มม. แผลจะเกิดด้านบนใบมากกว่าด้านล่างของใบ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ  ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

-ใบ, ลำต้น, ดอก, กาบใบ, ฝัก, ช่อดอกตัวผู้
-ลม ฝน
-เชื้อราชนิดนี้จะต้องอาศัยพืชที่มีชีวิตอยู่ไม่สามารถเจริญเติบโตบนเศษซากพืชที่ตายแล้ว เพราะฉะนั้นการแพร่เชื้อจะออกไปจากแผลที่ใบ กาบใบ และเปลือกหุ้มฝัก

การแพร่กระจาย (Distribution)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

ปลายฤดูฝนต้นฤดูหนาว อุณหภูมิ 24-28oC  ความชื้นในอากาศสูง95-100%

วิธีการควบคุม (Control measure)

-ใช้พันธุ์ลูกผสมที่ต้านทานต่อโรค หรือใช้พันธุ์ต้านทาน
-กำจัดวัชพืชและทำลายต้นที่เป็นโรค
-หลีกเลี่ยงการปลูกข้าวโพดหวานในแหล่งที่มีโรคระบาดรุนแรง ในแหล่งที่มีโรคระบาด
-ช่วงฤดูหนาว ควรปลูกพันธุ์ต้านทานโรคหรือปลูกพืชอื่นแทนข้าวโพด

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] จินตนา อันอาตม์งาม. 2554. ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อรา Puccinia polysora สาเหตุโรคราสนิมในประเทศไทย. วารสารโรคพืช 25 (1-2): 1-12.
[2] ชุติมันต์ พานิชศักดิ์พัฒนา และ เตือนใจ บุญหลง. 2545. โรคข้าวโพดและการป้องกันกำจัด. กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 69หน้า.
[3] นิพนธ์ วิสารทานนท์. 2552. คู่มือการวินิจฉัยโรคพืช เชื้อสาเหตุ และคำแนะนำในการป้องกันกำจัด. เอกสารประกอบการเรียน วิชาวินิจฉัยโรคพืช (01008481) ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[4] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication