Rigidoporus microporus (Sw.) Overeem 

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Rigidoporus microporus (Sw.) Overeem 
ชื่อพ้อง (Synonym)  Fomes auberianus, Fomes lignosus, Fomes semitostus, Leptoporus lignosus, Oxyporus auberianus, Polyporus auberianus, Polyporus lignosus, Rigidoporus lignosus

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Basidiomycota
    Class  Basidiomycetes
       Order  Polyporales
          Family  Meripilaceae
             Genus  Rigidoporus
             Species  microporus
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรครากขาวยางพารา
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  white root disease of rubber

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

ใบไหม้หลังจากผลัดใบในแต่ละรุ่น ใบมีขนาดเรียวลง ทรงพุ่มเล็กลง ต้นตายในขณะที่พืชแสดงอาการใบเหลือง พบเส้นใยสีขาวบริเวณโคนต้นและราก เส้นใยเจริญแนบกับรากยาง ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ดอก, ใบ, ราก, ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ยาง : rubber (Hevea brasiliensis)
อบเชย : cinnamon (Cinnamomum verum)
โกโก้ : cocoa (Theobroma cacao)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
มันเทศ : sweet potato (Ipomoea batatas)
มันสำปะหลัง : cassava (Manihot esculenta)
เงาะ : rambutan (Nephelium lappaceum)
พริกไทย : Pepper (Piper nigrum)

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

-หัว, ราก, ลำต้น, เนื้อไม้
-ดิน ราก

การแพร่กระจาย (Distribution)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

อุณหภูมิ 28oC  ฝนตกชุก ความชื้นสูง 

วิธีการควบคุม (Control measure)

ในกรณีที่ปลูกยางใหม่ในพื้นที่ที่มีไม้ยืนต้น รวมทั้งยางแก่ในพื้นที่ ที่มีความชื้นสูง ควรขุดตอและเผาทำลายเพื่อทำลายที่อยู่อาศัยของเชื้อ ควรปลูกพืชคลุมดินแล้วไถกลบเพื่อปรับสภาพดิน ควบคุมโดยใช้ชีววิธี โดยใช่ Trichoderma, Streptomyces และ  Bacillus เมื่อต้นยางพาราอายุ 1-2 ปี ควรทำการสำรวจสวนยางว่ามีโรคราขาวระบาดหรือไม่ โดยการขูดดูบริเวณรากให้ลึกปะมาณ 6-9 นิ้วจากผิวดิน

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] นิพนธ์ วิสารทานนท์. 2552. คู่มือการวินิจฉัยโรคพืช เชื้อสาเหตุ และคำแนะนำในการป้องกันกำจัด. เอกสารประกอบการเรียน วิชาวินิจฉัยโรคพืช (01008481) ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[2] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[3] อุไร จันทรประทิน, นริสา จันทร์เรือง, พเยาว์ ร่รื่นสุขารทย์ และ อารมณ์ โรจน์สุจิตร. 2551. อาการผิดปรกติของยางพารา. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 82 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication