ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Pythium aphanidermatum (Edson) Fitzp.
ชื่อพ้อง (Synonym) Nematosporangium aphanidermatum, Rheosporangium aphanidermatum
Phylum Oomycota
Class Peronosporomycetes
Order Pythiales
Family Pythiaceae
Genus Pythium
Species aphanidermatum
Race/Pathover
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai) โรคเน่าคอดิน
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name) damping-off
เมล็ดเน่าเละ ยอดตาย เนื้อเยื่อตายชุ่มน้ำ พบเส้นใยสีขาวฟู บริเวณโคนต้นรากและส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ผักกาด : lettuce (Lactuca sativa)
กะหล่ำดอก : cauliflower (Brassica oleracea var. botrytis)
กะหล่ำปลี : cabbage (Brassica oleracea var. capitata)
แตงโม : watermelon (Citrullus lanatus)
แตง, แตงกวา : cucumber (Cucumis sativus)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
ถั่วเหลือง : soyabean (Glycine max)
ถั่วแขก, ถั่วแดงหลวง : common bean, red kidney bean, kidney bean (Phaseolus vulgaris)
ถั่วลันเตา : pea, garden pea (Pisum sativum)
ถั่วพุ่ม : cowpea (Vigna unguiculata)
กระเจี๊ยบเขียว : okra (Abelmoschus esculentus)
ขิง : ginger (Zingiber officinale)
พุทรา : jujube (Ziziphus mauritiana)
มะเขือเทศ : tomato (Lycopersicon esculentum)
มันฝรั่ง : potato (Solanum tuberosum)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
-หัว, ดอก, ราก, ลำต้น
-ดิน เมล็ด น้ำชลประทาน ลม และฝน
อบอุ่น ร้อน
-ลดความชื้นในดิน
-ปลูกพืชหมุนเวียน
-เตรียมแปลงปลูกให้มีการระบายน้ำที่ดี ใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ไม่มีการระบาดของเชื้อ คลุกเมล็ดด้วยสารเคมีก่อนปลูก
[1] นิพนธ์ วิสารทานนท์. 2552. คู่มือการวินิจฉัยโรคพืช เชื้อสาเหตุ และคำแนะนำในการป้องกันกำจัด. เอกสารประกอบการเรียน วิชาวินิจฉัยโรคพืช (01008481) ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[2] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[3] จินตนา เชียงไชยสกุลไทย และ จิระเดช แจ่มสว่าง. (2530). การเตรียมดินผสม oospore ของเชื้อรา Pythium aphanidermatum. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[4] สมชาย ชคตระการและ อรรถกร พรมว. (2553).ประสิทธิภาพของเชื้อรา TRICHODERMA SPP. ที่แยกได้จากใบไผ่ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของคะน้าที่เกิดจากเชื้อรา PYTHIUM APHANIDERMATUM.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
[5] นงลักษณ์ ศรินทุ. (2526). การศึกษาการเข้าทำลายของเชื้อ Pythium aphanidermatum โรคต้นเน่าของป่านศรนารายณ์. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร.
[6] พรหมมาศ คูหากาญจน์, นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ และสมเกียรติ สีสนอง.(2556). เชื้อราที่แยกได้จากอาการโรคโคนเน่ารากเน่าของพรรณไม้น้าสกุลอนูเบียส ที่ปลูกในระบบปลูกพืชไร้ดิน. การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11
[7] วาริน อินทนา และคนอื่นๆ. (2551). ประสิทธิภาพของสารต่อต้านเชื้อราจาก Bacillus spp. ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อ Pythium aphanidermatum. Walailak Journal of Science and Technology (Thailand), 5 (1) ,29-38
[8] Bajaree Loliama, Tsutomu Morinagab, Saipin Chaiyanan. 2013. Biocontrol of Pythium aphanidermatum by the cellulolytic actinomycetes Streptomyces rubrolavendulae S4. ScienceAsia 39 (2013): 584–590 www.scienceasia.org/2013.39.n6/scias39_584.pdf
[9] Intana, W. and Chamswarng, C.Control of Chinese-kale damping-off caused by Pythium aphanidermatum by antifungal metabolites of Trichoderma virens Songklanakarin J. Sci. Technol., 2007, 29(4) : 919-927
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable