ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Peridiopsora mori (Barclay) K.V. Prasad, B.R.D. Yadav & Sullia
ชื่อพ้อง (Synonym) Hypodermium subgen, Peridiopsora mori Barclay
Phylum Basidiomycota
Class Pucciniomycetes
Order Pucciniales
Family Pucciniastraceae
Genus Peridiopsora
Species mori
Race/Pathover
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai) โรคราสนิมหม่อน
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name) mulberry red rust
ระยะการเจริญเติบโต aecium stage ของวงจรชีวิตเท่านั้น ระยะนี้จะพบ aecium เป็นรูป ระฆังกลับหัวฝังตัวอยู่บนผิวด้านหลัง ภายใน aecium จะผลิตสปอร์เรียกว่า aeciospore ซึ่งเป็นเซลล์ขยายพันธุ์แบบไม่มีเพศเรียงต่อกันเป็นลูกโซ่อัดแน่น ต่อมาจะเจริญดันผิวด้านหลังใบเป็นแผลรูปวงกลมหรือรูปไข่บริเวณผิวด้านล่างของใบหม่อน ถ้าระบาดรุนแรงใบจะมีสีเหลืองและร่วงหล่น ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ, ก้านใบ, ยอดอ่อน, กิ่งอ่อน, , ผลหม่อน
พืชอาศัยหลัก (Main host)
หม่อน : mulberry (Morus alba)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
-ใบ, กิ่งก้าน, ยอดอ่อน
-สปอร์ปลิวไปตามลมเมื่อสปอร์ไปตกบนใบหม่อนในสภาพที่อากาศเหมาะสมก็จะงอกเส้นใยแทงเข้าไปในใบ เจริญและพัฒนาก่อให้เกิดโรคราสนิมใหม่ต่อไป ส่วน aeciospore ที่มีรูปร่างกลมรี สีนํ้าตาล และมีหนามล้อมรอบเซลล์ เป็นลักษณะสปอร์แก่ที่จะหลุดร่วงไปในที่สุด
ปลายฤดูฝนถึงฤดูหนาวที่มีอากาศเย็นและชื้น
ช่วงที่มีการระบาดรุนแรงตัดแต่งกิ่งให้ทรงพุ่มโปร่งในพื้นที่ที่มีการระบาดควรปลูกหม่อนให้มีระยะปลูกห่างมากกว่าปกติ ใช้พันธุ์หม่อนที่ทนทาน ได้แก่ หม่อนคุณไพ
[1] CABI. 2007. Crop Protection Compendium. CAB International, Wallingford UK. URL http://www.cabicompendium.org/cpc/home.asp
[2] มรรัชฏ์ คิดใจเดียว, รังษี เจริญสถาพร, วิโรจน์ แก้วเรือง, กาญยานี โพนเบ้า และ สมชาย กันหลง. มปป. การสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลโรคราสนิมหม่อนในแปลงปลูกหม่อนต่างๆ ของไทย. หน้า 865-886. URL http://plantpro.doae.go.th/disease-research/P-28.pdf
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable