Cercospora capsici Heald & F.A. Wolf

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Cercospora capsici Heald & F.A. Wolf
ชื่อพ้อง (Synonym)  Cercospora unamunoi, Phaeoramularia unamunoi

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Ascomycota
    Class  Dothideomycetes
       Order  Capnodiales
          Family  Mycosphaerellaceae
             Genus  Cercospora
             Species  capsici
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคใบจุดตากบ
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  Cercospora leaf spot

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

เมื่อเชื้อเ้าทำลาย ใบมีแผลตายเป็นรูปคล้ายตากบ จุดแผลกลม กลางแผลมีสีเทา ขอบแผลสีน้ำตาล แผลกระจายทั่วไป ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

พริก, พริกหวาน, พริกชี้ฟ้า : chili, pepper, bell pepper, goat pepper (Capsicum annuum)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

-เมล็ด
-Conidia ของเชื้อราสามารถแพร่ระบาดได้ดี โดยลม ลมพัดฝน น้ำ และติดไปกับปีกหรือขาของแมลง สามารถมีชีวิตอยู่ในเศษซากพืชในดินได้นานและติดไปกับเมล็ดพันธุ์ได้

การแพร่กระจาย (Distribution)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

อุณหภูมิประมาณ 30OC ความชื้นสูง เป็นสภาพที่เหมาะต่อการเจริญเติบโตและผลิต Conidia ของราสาเหตุโรค ดังนั้นจึงพบโรคนี้แพร่ระบาดในแปลงที่มีความชื้นสูง ปลูกแน่นเกินไป ในระยะฝนตกชุกหรือน้ำค้างจัด

วิธีการควบคุม (Control measure)

-เว้นระยะปลูกให้เหมาะสมกับทรงพุ่มพริก ไม่ควรใช้ระยะปลูกพริกชิดกันเกินไป เพราะจะทำให้ความชื้นระหว่างต้นสูง
-ควรให้น้ำในปริมาณพอเหมาะ เป็นครั้งคราว หลีกเลี่ยงการให้น้ำตอนเย็นใกล้ค่ำ เมื่อเริ่มพบต้นเป็นโรคประปรายในแปลงและมีแนวโน้มว่าจะระบาดมากขึ้น ควรลดความชื้นในแปลงปลูก
-เลือกปลูกพริกพันธุ์ที่ทนทานต่อโรค พริกที่ให้ผลขนาดเล็ก เช่น พริกขี้หนู จะทนทานต่อโรคได้ดีกว่าพริกผลใหญ่
-เมื่อเริ่มเห็นอาการที่ใบล่าง ควรเก็บอกจากแปลง และพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] BATS-PPQ-APHIS-USDA. 1996. Importation of fresh pepper fruit, Capsicum annuum from Chile into the United States. Biological Assessment and Taxonomic Support (BATS), Plant Protection and Quarantine (PPQ), Animal and Plant Health Inspection Service (APHIS) and U.S. Department of Agriculture (USDA), Riverdale, MD.
[2] CABI. 2007. Crop Protection Compendium. CAB International, Wallingford UK. URL http://www.cabicompendium.org/cpc/home.asp
[3] McMullan, M. and J. Livsey. 2007. Guide: Pest and Diseases. URL http://www.thechileman.org/guide_disease.php, written by Mark McMullan
[4] MycoBank. 2012. URL http://www.mycobank.org/
[5] Naqvi, S.A.M.H. 2004. Disease of fruits and vegetables diagnosis and management volume II. National Research Centre for Citrus (Indian Council of Agricultural Research), Nagpur, Maharashtra, India.
[6] Pernezny, K., P. Roberts, J. Murphy and N. Goldberg. 2003. Compendium of pepper diseases. The American Phytopathological Society: St. Paul. URL http://www.apsnet.org/online/commonname/pepper.asp
[7] USDA-APHIS-PPQ-CPHST-PERAL. 2004. Importation of fresh pepper fruit with stems (Capsicum annuum L., C. frutescen L., C. baccatum L., C. pubescens Ruiz and Pav. and C. chinense Jacq.) from Costa Rica, El Salvador, Guatemala, Honduras and Nicaragua into the United states. United States Department of Agriculture (USDA), Animal and Plant Health Inspection Service (APHIS), Plant Protection and Quarantine (PPQ), Center for Plant Health Science and Technology (CPHST) and Plant Epidemiology and Risk Analysis Laboratory (PERAL), Raleigh, NC.
[8] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[9] พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2551. โรคและแมลงของพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 2. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication