ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Cercospora kikuchii (Tak. Matsumoto & Tomoy.) M.W. Gudnu
ชื่อพ้อง (Synonym) Cercospora kikuchii (Tak. Matsumoto & Tomoy.) M.W. Gardner, comb. superfl.
Cercosporina kikuchii Tak. Matsumoto & Tomoy.
Phylum Ascomycota
Class Dothideomycetes
Order Capnodiales
Family Mycosphaerellaceae
Genus Cercospora
Species Cercospora kikuchii
Race/Pathover
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai) โรคเมล็ดสีม่วง
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name) purple patch, purple speck, purple seed stain
เปลือกเมล็ดมีสีม่วงอ่อนถึงม่วงเข้ม ผิวเปลือกของเมล็ดมีรอยแตกเมื่อมีอาการรุนแรง เมล็ดที่เป็นโรคเมื่องอกเป็นต้นกล้าจะแคระแกรน ไม่เจริญเติบโต อาการบนลำต้นและถั่วเป็นแผลสีน้ำตาล เปลือกฝักด้านในเป็นสีม่วง ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล, ใบ, เมล็ด, ลำต้น
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ถั่วเหลือง : soyabean (Glycine max)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
พืชสกุล Phaseolus, สกุลถั่ว : bean (Phaseolus sp.)
ถั่วพุ่ม : cowpea (Vigna sinensis)
-ผล, ใบ, ลำต้น, เมล็ด
-อากาศ
Asia: Bangladesh, China, India, Iran, Japan, Korea (Republic of), Malaysia, Nepal, Pakistan (restricted distribution), Sri Lanka, Taiwan, Thailand
Africa: Burkina Faso, Cameroon, Ethiopia, Gabon, Ghana, Liberia, Mozambique, Nigeria, South Africa, Togo, Uganda, Zambia, Zimbabwe
North America: Canada (restricted distribution), Mexico, USA (restricted distribution)
Central America and Caribbean: Cuba, Jamaica, Puerto Rico, Trinidad and Tobago
South America: Argentina, Bolivia, Brazil (restricted distribution), Colombia
Europe: Croatia, France, Russian Federation (restricted distribution)
Oceania: Australia, Fiji, Papua New Guinea
-ความชื้นสูง
-อุณหภูมิที่แตกต่างในช่วงเวลาสั้นๆ
-ใช้เมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากโรค
-วางแผนการปลูกถั่วเหลืองให้ถั่วเหลืองแก่ในช่วงที่ไม่มีฝนตกชุก
-ใช้สารป้องกันกำจัดเชื้อราในช่วงเวลาที่ถั่วเหลืองติดฝัก
[1] CABI. 2007. Crop Protection Compendium. CAB International, Wallingford UK. URL http://www.cabicompendium.org/cpc/home.asp
[2] MycoBank. 2012. URL http://www.mycobank.org/
[3] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable