Cercospora oryzae I. Miyake

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Cercospora oryzae I. Miyake
ชื่อพ้อง (Synonym)  Cercospora janseana [anamorph], Cercospora oryzae [anamorph]

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Ascomycota
    Class  Dothideomycetes
       Order  Capnodiales
          Family  Mycosphaerellaceae
             Genus  Cercospora
             Species  oryzae
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคใบขีดสีนำ้ตาลข้าว
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  narrow brown spot

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

เกิดแผลเป็นเส้นขนาด 2-10 มม. และกว้างไม่เกิน 1-1.5 มม. ตรงกลางแผลเป็นสีน้ำตาลเข้มและจางลงบริเวณขอบๆ ใบที่เป็นโรคจะแห้งตายจากปลายใบก่อน แผลจพมีมากตามใบล่างและปลายใบ ใบจะแห้งตายจากปลายใบก่อน ต้นข้าวที่มีอาการรุนแรงจะเกิดแผลสีน้ำตาล ที่ข้อต่อใบด้วย ราสามารถเข้าทำลายคอรวงทำให้คอรวงเน่าและหักได้ ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ดอก, ใบ, เมล็ด

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าว : rice (Oryza sativa)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

None Data

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

ดอก, ใบ, เมล็ด

การแพร่กระจาย (Distribution)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

-

วิธีการควบคุม (Control measure)

-เผาตอซังและกำจัดหญ้าตามคันนา
-ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่
-ใช้ปุ๋ยโปรตัสเซียมคลอไรด์ อัตรา 5-10 กก/ ไร่ ช่วยลดความรุนแรงของโรคได้
-กรณีที่มีการระบาดรุนแรง อาจใช้สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น carbendazim

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[2] ดารา เจตนะจิตร, นงรัตน์ นิลพานิชย์, พากเพียร อรัญนารถ, วิชิต ศิริสันธนะ, วิชชุดา รัตนากาญจน์, รัศมี ฐิติเกียรติพงศ์, เยาวภา ตันติวานิช, วันชัย โรจนหัสดิน และ จรรยา อารยาพันธ์. 2545. คู่มือโรคข้าว. กลุ่มงานวิจัยโรคข้าวและธัญพืชเมืองหนาว กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 40 หน้า.
[3] ธนาคร จารุพัฒน์, วิชัย ก่อประดิษฐ์สกุล, นิพนธ์ ทวีชัย และ ศศินาฏ แสงวงศ์. 2526. โรคอ้อยในประเทศไทย. สมาคมนักวิชาการอ้อยและน้ำตาลแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 180 หน้า. URL http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/ebooks/2011-002-0335/index.html#/1/
[4] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[5] วิชิต ศิริสันธนะ, วิชชุดา รัตนากาญจน์, รัศมี ฐิติเกียรติพงศ์ และ วันพร เข็มมุกด์. 2553. โรคข้าวที่สำคัญในประเทศไทย: การวินิจฉัย สุ่มสำรวจ และประเมิณความรุนแรงของโรค. กลุ่มวิชาการ สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 55 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication