Cladosporium cucumerinum Ellis & Arthus

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Cladosporium cucumerinum Ellis & Arthus
ชื่อพ้อง (Synonym)  Cladosporium cucumeris, Cladosporium scabies, Macrosporium cucumerinum, Macrosporium melophthorum, Scolicotrichum melophthorum

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Ascomycota
    Class  Dothideomycetes
       Order  Capnodiales
          Family  Davidiellaceae
             Genus  Cladosporium
             Species  cucumerinum
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคสแคบ, โรคสแคบพืชตระกูลแตง
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  scab of cucurbits

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

แผลจุด ชุ่มน้ำ ขยายใหญ่ เป็นสีเทา เป็นเหลี่ยม ขอบเป็นสีเหลือง ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ผล, ส่วนเจริญ, ดอก, ใบ, ลำต้น

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

แตง, แตงกวา : cucumber (Cucumis sativus)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

แตงโม : watermelon (Citrullus lanatus)
แตงไทย, เมล่อน : muskmelon (Cucumis melo)
ฟักทอง : pumpkin (Cucurbita moschata)
มะระ : ornamental gourd (Cucurbita pepo)

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

ดอก, ผล, ใบ, ลำต้น, เชื้อสาเหตุอาจติดไปกับเมล็ด สามารถแพร่กระจายไปกับแมลง ดิน หรือมนุษย์

การแพร่กระจาย (Distribution)

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

เชื้อโรคจะเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วที่อุณหภูมิ 30-35oC ความชื้นสูง

วิธีการควบคุม (Control measure)

-ฆ่าเชื้อที่ผิวเมล็ดด้วย 0.5, sodium hypochlorite ก่อนนำไปปลูก
-ปลูกพืชหมุนเวียนอย่างน้อย 3 ปี
-ปรับปรุงโครงสร้างดิน และค่าความเป็นกรดด่าง ตลอดจนความสมดุลของธาตุอาหารในดิน โดยการใช้ปุ๋ยหมัก – ปุ๋ยคอก และปูนขาว (ความเป็นกรดด่างที่เหมาะสมในการปลูกแตงกวาอยู่ที่ประมาณ 5.5 – 7.5) มีการให้ธาตุแคลเซียมโดยการฉีดพ่น ทุก 7 – 10 วัน โบรอนก่อนพืชออกดอก 1 ครั้ง และแมกนีเซียมโดยการใช้ปูนขาวในขั้นตอนการเตรียมดิน หลีกเลี่ยงการให้น้ำเปียกใบพืชนานเกินไป

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[2] MycoBank. 2012. URL http://www.mycobank.org/
[3] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[4] ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสงขลา. มปป. ศัตรูพืชตระกูลแตง. URL http://www.pmc06.doae.go.th/melon%20plant/melon.htm

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication