ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Cucumber mosaic virus
ชื่อพ้อง (Synonym) banana infectious chlorosis virus,banana mosaic virus,coleus mosaic virus,ommon mosaic virus,cowpea banding mosaic virus,cowpea ringspot virus,cucumber mosaic cucumovirus,cucumber yellow mosaic virus,cucumis virus 1,lily ringspot virus,pea top necrosis virus,peanut yellow mosaic virus,southern celery mosaic virus,soybean stunt virus,spinach blight virus,tomato fern leaf virus
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ไวรัสใบด่างแตง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Acronyms) CMV
Order Virus families not assigned to an order
Family Bromoviridae
Genus Cucumovirus
Species Cucumber mosaic virus
Race/Pathovar
Strain/Type/Serotype
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai) โรคใบด่างแตง
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name) cucumber mosaic
ลักษณะอาการหลัก:
ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ, ลำต้น, ดอก, ผล
symptom keyword: mosaic, distortion, shoe string, stunt
พืชอาศัยหลัก (Main host)
พืชตระกูลแตง : (Cucurbita spp.)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
ว่านสี่ทิศ : amaryllis (Amaryllis sp.)
พุทธรักษา : Canna, indian shot, canna lily (Canna indica)
พริก, พริกหวาน, พริกชี้ฟ้า : chili, pepper, bell pepper, goat pepper (Capsicum annuum)
พืชสกุลพริก : (Capsicum sp.)
แพร่ระบาดโดยแมลงพาหะคือเพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน (Rhopalosiphum pseudo-brassicae), ถ่ายทอดได้โดยวิธีกล
ประเทศไทยไทยพบโรคนี้ในจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำปาง
-เนื่องจากเชื้อ Cucumber mosaic virus มีชนิดพืชอาศัยกว้างมาก เชื้อสามารถถ่ายทอดได้โดยวิธีสัมผัสและที่สำคัญคือ สามารถถ่ายทอดได้โดยเพลี้ยอ่อนมากถึงกว่า 50 ชนิด ทำให้การควบคุมเป็นไปได้ยากมาก การดำเนินการเพื่อลดความเสียหายจะดำเนินการโดย ดูแลและกำจัดพืชที่เป็นโรคในแปลงปลูกให้หมดสิ้น กำจัดวัชพืชที่เป็นพืชอาศัยของไวรัส
-คลุมแปลงปลูกพืชด้วยพลาสติคสะท้อนแสงสีบรอนซ์ เพื่อลดการแพร่ระบาดของเพลี้ยอ่อนและวัชพืชบนแปลงปลูก
-สำหรับมะเขือเทศยังไม่มีพันธุ์ต้านทานต่อเชื้อไวรัส CMV จากการปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิม นอกจากการสร้างพันธุ์ต้านทานโดยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฟันนี่พับบลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 310 หน้า.
[3] สุพัฒน์ อรรถธรรม, อัญจนา บุญชด, เจษฎาพร พิทักษ์สุธีพงศ์ และ พิสสวรรณ เจียมสมบัติ. 2548. การประเมินความเสียหายของผลผลิตมะเขือเทศที่ถูกเชื้อไวรัสใบด่างแตงเข้าทำลาย. ว.วิทย.กษ. 36 (5-6): 337-341.
[4] สุพัฒน์ อรรถธรรม. 2552. โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส. บริษัทเพชรรุ่งการพิมพ์ จำกัด, นนทบุรี. 206 หน้า.
[5] อัญญรัตน์ ฤทธิ์พิทักษ์พงศ์. 2553. การประเมินความต้านทานต่อเชื้อ cucumber mosaic virus ของมะเขือเทศดัดแปลงพันธุกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable