Rice grassy stunt virus

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Rice grassy stunt virus
ชื่อพ้อง (Synonym)  -
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  ไวรัสเขียวเตี้ยข้าว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Acronyms)  RGSV

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Order  
     Family  Unassigned virus family
          Genus  Tenuivirus
             Species  Rice grassy stunt virus
              Race/Pathovar  
              Strain/Type/Serotype  

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคเขียวเตี้ยข้าว
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  rice grassy stunt

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

ลักษณะอาการหลัก: ต้นแคระแกร็น แตกแขนงมากมายจนมีลักษณะเป็นพุ่ม ใบแคบและสั้นมีสีเหลืองปนเขียว
ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ,ลำต้น,เมล็ด
symptom keyword: Gall

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าว : rice (Oryza sativa)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

ข้าวป่า : wild rice (Oryza australiensis, Oryza alta, Oryza breviligulata, Oryza glaberrima)

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

โดยแมลงพาหะ คือ เพลี้ยกระโดดสีนำตาล

พาหะ (Vector)

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Nilaparvata lugens Stal.)

การแพร่กระจาย (Distribution)

ประเทศไทยพบโรคนี้ใน ปี พ.ศ. 2509

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

วิธีการควบคุม (Control measure)

-กำจัดหรือทำลายเชื้อไวรัสโดยไถกลบหรือเผาตอซังในนาที่มีโรค
-กำจัดวัชพืชโดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ำที่เป็นที่อยู่อาศัยและขยายพันธุ์ของแมลงพาหะ
-ใช้พันธุ์ต้านทานที่ทางราชการแนะนำ ปัจจุบันมีพันธุ์ สุพรรณบุรี 90 สุพรรณบุรี 3 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 2 ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้พอสมควรแต่ไม่ควรปลูกเป็นแปลงขนาดใหญ่ เนื่องจากแมลงสามารถปรับตัวเข้าทำลายพันธุ์ข้าวที่ต้านทานได้
-ใช้สารฆ่าแมลงในระยะที่เป็นตัวอ่อน เช่น ไดโนทีฟูเรน หรือ บูโพรเฟซิน หรือ อีโทเฟนพรอกซ์ ไม่ควรใช้สารฆ่าแมลงผสมกันหลายๆ ชนิดหรือใช้สารฆ่าแมลงผสมสารกำจัดโรคหรือสารกำจัดวัชพืช เพราะอาจทำให้ประสิทธภาพของสารฆ่าแมลงลดลง ไม่ใช้สารกลุ่มไพรีทรอยด์สังเคราะห์ เช่น ไซเพอร์มิทริน ไซฮาโลทริน เดลต้ามิทริน เนื่องจากสารกลุ่มนี้ไปทำลายแมลงศัตรูธรรมชาติ
-ถ้าปฏิบัติได้ เมื่อมีโรคระบาดรุนแรงควรงดปลูกข้าว 1-2 ฤดู เพื่อตัดวงจรชีวิตแมลงพาหะ​

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] ดารา เจตนะจิตร, นงรัตน์ นิลพานิชย์, พากเพียร อรัญนารถ, วิชิต ศิริสันธนะ, วิชชุดา รัตนากาญจน์, รัศมี ฐิติเกียรติพงศ์, วันชัย โรจนหัสดิน และ ธัญลักษณ์ อารยาพันธ์. 2550. โรคข้าวและการป้องกันกำจัด. สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 76 หน้า.
[2] ดารา เจตนะจิตร, นงรัตน์ นิลพานิชย์, พากเพียร อรัญนารถ, วิชิต ศิริสันธนะ, วิชชุดา รัตนากาญจน์, รัศมี ฐิติเกียรติพงศ์, เยาวภา ตันติวานิช, วันชัย โรจนหัสดิน และ จรรยา อารยาพันธ์. 2545. คู่มือโรคข้าว. กลุ่มงานวิจัยโรคข้าวและธัญพืชเมืองหนาว กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 40 หน้า.
[3] ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฟันนี่พับบลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 310 หน้า.
[4] สุพัฒน์ อรรถธรรม. 2552. โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส. บริษัทเพชรรุ่งการพิมพ์ จำกัด, นนทบุรี. 206 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication